Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีภาวะสูญเสียและเศร้าโศก -…
3.3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีภาวะสูญเสียและเศร้าโศก
การพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ ผ่อนคลาย ลดสิ่งกระตุ้นให้ผู้ป่วย
ให้การดูแลเรื่องสุขภาพโดยเฉพาะเมื่อมีอาการเบื่ออาหาร และนอนไม่หลับ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาหรือการรักษาตามแผนการรักษาของแพทย์
จัดให้เข้ากลุ่มกิจกรรมบําบัดร่วมกับผู้ป่วยที่มีปัญหาคล้าย ๆ กันเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ค้นหาสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ
ชี้ให้ผู้ป่วยเปรียบเทียบกับประสบการณ์การสูญเสียของตนเองกับผู้อื่นที่มีลักษณะรุนแรงกว่า
อยู่เป็นเพื่อนและเป็นกําลังใจผู้ป่วยส่งเสริมให้เขามองเห็นคุณค่าในตนเอง
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถจัดการกับความรู้สึกค้างคาใจที่มีต่อผู้ที่เสียชีวิตไปแล้วได้อย่างเหมาะสม
พยายามรับฟังอย่างเข้าใจ ยอมรับในพฤติกรรม และมุ่งเน้นให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกต่อการสูญเสีย ให้กำลังใจ
สร้างสัมพันธภาพแบบตัวต่อตัว
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีความรู้สึกผิดและโทษตนเองว่าเป็นสาเหตุของการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
ขาดทักษะในการเผชิญปัญหาเมื่อต้องสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าจากการสูญเสีย
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ําเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
การประเมินภาวะสูญเสีย
ประเมินความพร้อมแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมผู้ป่วยเมื่อเผชิญกับเหตุการณ์สูญเสีย
ประสบการณ์การสูญเสียในอดีต
ประเมินลักษณะบุคลิกภาพของผู้ป่วย
ประเมินระดับการให้คุณค่า และความหมายของสิ่งสูญเสียในมุมมองของผู้ป่วย
ประเมินอาการและอาการแสดง ร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
ความหมาย
2) ภาวะเศร้าโศก (grief) คือ อารมณ์ที่ต้องเผชิญกับการสูญเสีย หรือคาดว่าจะสูญเสีย
1) การสูญเสีย (loss) เป็นการที่บุคคลพลัดพรากจากสิ่งที่รัก ที่มีคุณค่า
ประเภท
การสูญเสียความรักหรือบุคคลสําคัญในชีวิต (loss of a love or a significant other) เช่น การตายของบิดา มารดา ญาติพี่น้อง คู่สมรส บุตร เพื่อนสนิท
การสูญเสียภาพลักษณ์หรือ อัตมโนทัศน์(loss of body image or some aspect of self) เช่น การป่วยเรื้อรังทําให้เกิดภาวะทุพพลภาพและเกิดการสูญเสีย
การสูญเสียตามช่วงวัย(maturational loss) เช่น เด็กที่ต้องหย่านมแม่การต้องออกจากโรงเรียนเมื่อสําเร็จการศึกษา การออกจากครอบครัวเมื่อต้องไปใช้ชีวิตคู่
การสูญเสียสิ่งของภายนอก (loss of external object) เช่น การย้ายถิ่นฐานที่อยู่ ย้ายที่ทํางาน ซึ่งทําให้เกิดความไม่มั่นคง
อาการและอาการแสดงของภาวะเศร้าโศก (grief)
การเศร้าโศกแบบผิดปกติ (maladaptive grief)
มีภาวะซึมเศร้าและความคิดฆ่าตัวตาย
ไม่มีเป้าหมายในการดําเนินชีวิต รู้สึกหมดหวัง และสิ้นหวังในชีวิต
ไม่สนใจตนเองและสิ่งแวดล้อม ไม่อยากทําอะไร แม้แต่กิจกรรมที่เคยชอบ
แยกตัว และขาดทักษะในการสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น
delayed grief reaction เป็นปฏิกิริยาเศร้าโศกที่ล่าช้า บุคคลไม่สามารถแสดงความเศร้าโศกออกมาได้
chronic grief reaction เป็นปฏิกิริยาความเศร้าโศกเรื้อรังยาวนาน
การเศร้าโศกแบบปกติ (normal grief)
ระยะเผชิญกับการสูญเสีย
ประสาทหลอนหรือไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป
กล่าวโทษตนเอง ไม่กระตือรืนร้น ขาดสมาธิที่จะตั้งใจทํางาน รู้สึกไร้คุณค่า
กระสับกระส่าย กระวนกระวาย และมักแยกตัว
หดหู่ ว้าเหว่
อยู่กับสัญลักษณ์หรือตัวแทนของบุคคลที่สูญเสีย เช่น รูปถ่าย เสื้อผ้า หรือสิ่งของที่เป็นของบุคคลที่สูญเสีย
มีความคิดหมกมุ่น
แบบแผนการรับประทานอาหารและการนอนหลับพักผ่อนเปลี่ยนแปลงไป
คลื่นไส้อาเจียน
หน้ามืด
หมดแรง อ่อนเพลีย ตัวชา
มีความรู้สึกหายใจขัด ลําคอตีบตัน คอแห้ง
ระยะเฉียบพลัน ระยะนี้เกิดขึ้นในช่วง 4 – 8 สัปดาห์แรก บุคคลจะช็อค ไม่เชื่อ และไม่ยอมรับการสูญเสียที่เกิดขึ้น มีอาการตื่นตะลึง ตัวชา และปฏิเสธ
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดงของสูญเสีย
แหล่งสนับสนุนทางสังคม บุคคลที่มีแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือ คอยกําลังใจ
ภาวะสุขภาพ
บุคลิกภาพ บุคคลที่มีบุคลิกภาพที่เข้มแข็งย่อมมีความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์การปรับตัวต่อการสูญเสียที่ผ่านมา
การให้ความหมายต่อสิ่งที่สูญเสีย
ระยะพักฟื้น (restitution) เป็นระยะที่บุคคลจะมีการปรับตัวเพื่อฟื้นคืนสู่ภาวะปกติ
ระยะพัฒนาการตระหนักรู้ถึงการสูญเสีย (developing awareness) ใช้เวลา 2 – 3 สัปดาห์แล้วจะดีขึ้นเองใน 2 – 4 เดือนหลังตระหนักรู้ถึงการสูญเสีย ไม่เกิน 6 เดือน
ระยะช็อค (shock and disbelief) บุคคลจะตกใจ ไม่เชื่อปฏิเสธ อาจเกิดความรู้สึกมึนชาใน 2 -3 ชั่วโมงถึง 2 -3 สัปดาห์