Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หอยมรกต, ณัฐวรา คชฤทธิ์ ม.4/5 เลขที่ 42 - Coggle Diagram
หอยมรกต
ที่มา
เกิดเหตุการณ์น้ําทะเลข้ึนสูง ทําให้ผืน แผ่นดินเริ่มแยกออกจากกัน เร่ิมเกิดเกาะ เล็กเกาะน้อย และในท่ีสุดเมื่อ4,000 ปี ก่อน น้ําทะเลสูงขึ้นจนผืนแผ่นดินทาง ภาคใต้ของประเทศไทยปรากฏเป็นด้าม ขวานอย่างชัดเจน ในตอนนั้นหอยทาก แอมฟิโดรมัส อาลติคัลโลซัส (Amphidromus atricallosus) ซ่ึงหากิน อยู่บริเวณแผ่นดิน ได้ถูกแยกออกมาอยู่
-
-
หอยทากแอมฟิโดรมัส อาลติ คัลโลซัส ที่อยู่บนแผ่นดินเดิมยังคง หากินและสืบพันธุ์ตามปกติ โดยยังคงมี จํานวนประชากรของหอยเวียนซ้าย-เวียน ขวาอย่างสมดุล แต่หอยที่ถูกแยกออกมา อยู่บนผืนแผ่นดินใหม่ที่เป็นเกาะมีน้ํา ทะเลล้อมรอบ ต้องมีการปรับตัวเพื่อเอา ชีวิตรอด ปริมาณอาหารท่ีมีน้อยลง ทําให้ หอยทากแอมฟิโดรมัส อาลติคัลโลซัส ท่ี ติดเกาะจึงมีขนาดตัวเล็กลงเรื่อยๆ และ จํานวนงูกินทาก ศัตรูตัวฉกาจที่มีอยู่มาก
ได้ควบคุมประชากรหอยทากเวียนขวาให้ ลดน้อยลงจนหายไปในท่ีสุด กลายเป็น หอยแอมฟิโดรมัส คลาซิเรียส ท่ีมีเปลือก เวียนซ้ายทั้งหมด ตัวมีขนาดเล็กลง มีฟัน เปล่ียนไป และอวัยวะเพศหด สั้นลง จึง ไมส่ ามารถผสมพนั ธกุ์ บั หอย แอมฟโิ ดรมสั อาลติคัลโลซัส สปีชีส์ดั้งเดิมได้ จึงถือเป็น หอยแอมฟิโดรมัส สปีชีส์ใหม่อย่าง สมบูรณ
กระบวนการเกิดสปีชีส์ใหม
คือกระบวนการเปล่ียนแปลงจากสปีชีส์ หน่ึงโดยการแตกแขนงออกเป็นสปีชีส์ ใหม่ ก่อให้เกิดการเพิ่มจํานวนสปีชีส์มาก ขึ้น เรียกกระบวนการนี้ว่า สปีซิเอชั่น (Speciation)
ตัวอย่างการเกิดสปีชีส์ใหม่ที่ นิยมพูดถึงกัน คือ การเกิดสปีชีส์ใหม่บน เกาะกาลาปากอส ท่ีชาร์ลส์ ดาร์วินได้
กล่าวเอาไว้ แต่ประเทศไทยก็มีตัวอย่างที่ สามารถใช้อธิบายการเกิดสปีชีส์ใหม่ที่ สมบูรณ์แบบเช่นกันนั่นคือการเกิด หอยมรกตแห่ง เกาะตาชัย เป็น ปรากฏการณ์ การเกิดสปีชีส์ใหม่ท่ีคลาสสิคและมีหลัก ฐานท่ีสมบูรณ์ที่สุดในประเทศไทย
การเวียนซ้ายเวียนขวา
การเวียนซ้าย เวียนขวาของ เปลือกเป็นลักษณะที่ถูกถ่ายทอดต่อกัน มารุ่นแล้วรุ่นเล่า โดยมีโครงสร้างทาง พันธุกรรมที่เรียกว่า “ยีน” เป็นตัวควบคุม ลักษณะ หอยมักผสมพันธุ์กับพวกท่ีมี เปลือกเวียนข้างเดียวกัน เนื่องจากกลไก การผสมพันธุ์ของหอยทากบก เวลาจับคู่ จะหันหัวเข้าหากัน โดยย่ืนช่องสืบพันธุ์ เข้าชิดกัน แล้วสอดอวัยวะสืบพันธุ์เข้าหา กัน หอยที่มีเปลือกเวียนขวาจะมีกลุ่ม อวัยวะสืบพันธุ์อยู่ทางช่องสืบพันธุ์ด้าน ขวาตรงส่วนหัว หอยเปลือกเวียนซ้ายก็จะ มีอวัยวะสืบพันธ์ุอยู่ทางช่องสืบพันธุ์ด้าน ซ้ายตรงส่วนหัว หอยท่ีเปลือกเวียนข้าง
การจับคู่ผสมพันธุ์ของหอยท่ีมีการเวียนต่าง กัน : หอยเวียนขวา (ตัวบน) และหอยเวียน ซ้าย (ตัวล่าง) ซ่ึงแสดงช่องเปิดอวัยวะ สืบพันธุ์ (ลูกศรสีเขียว) ท่ีมีทิศทางไม่เหมาะ สม จึงผสมพันธ์ุกันได้ยาก
เดียวกันจะสามารถผสมพันธุ์กันสําเร็จ ถ้าเวียนต่างกันมักจะไม่พบจับคู่กัน เนื่องจากช่องเปิดอยู่ตรงข้ามกัน การผสม พันธ์ุจึงเป็นไปด้วยความยากลําบาก
การศึกษาร่างกายหอย
นอกจากน้ีการศึกษาร่างกายของ หอย พบว่า อวัยวะสืบพันธุ์ของหอยที่มี เปลือกเวียนต่างกัน มีลักษณะหลาย อย่างที่มีความผันแปร เช่น ความยาวไม่ เท่ากัน ทําให้หอยไม่สามารถผสมข้ามกัน ได้ระหว่างพวกท่ีมีลักษณะเปลือกท่ีเวียน ต่างกัน สิ่งนี้เองที่นําไปสู่การแบ่งแยก ทางการผสมพันธุ์ จนในท่ีสุดเกิดเป็นชนิด ใหม่ข้ึนได้ซ่ึงนําไปสู่ การแบ่งแยก ทางการผสมพันธ์ุ (reproductive isolation) และการเกิดสปีชีส์ใหม่ (speciation) ในท่ีสุด
ที่มาของชื่อ
หอยมรกตแห่งเกาะตาชัย มีชื่อ วิทยาศาสตร์ว่า แอมฟิโดรมัส คลาซิ เรียส (Amphidromus classirius) ได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี พบที่เดียวคือเกาะตาชัย นอกชายฝั่งจังหวัดพังงาไปประมาณ 30 กิโลเมตร ลักษณะของหอยชนิด ย่อยนี้ มีลักษณะเปลือกเวียนซ้ายที่ พบทั้งประชากร ในขณะที่สปีชีส์ ดั้งเดิม คือ แอมฟิโดรมัส อาลติคัล โลซัส (Amphidromus atricallosus) มีการเวียนทั้งซ้ายและขวา
-
-