Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่13 การพยาบาลผู้ป่วย ที่มีปัญหาของระบบ ทางเดินปัสสาวะ …
บทที่13
การพยาบาลผู้ป่วย
ที่มีปัญหาของระบบ
ทางเดินปัสสาวะ
ระยะเฉียบพลัน
และเรื้อรัง
(1)
ระบบทางเดิน
ปัสสาวะ
ไต
Kidney
หน้าที่
ขับสารและของเสียออกจากร่างกาย (BUN,Cr,Uric acid)
ปรับความสมดุล, ควบคุมความดันโลหิต, สร้างฮอร์โมน
กรวยไต Renal pelvis
ท่อไต Ureter
ต่อจากไต เป็นทางนำน้ำปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะ Urinary Bladder
จุ 600 – 800 ซีซี
ท่อปัสสาวะ Urethra
หญิง 3 –8 ซม. , ชาย 18 –20 ซม.
ซักประวัติ
อายุ, แบบแผนการรับประทานอาหารและน้ำ, ประวัติการใช้ยา, ประวัติโรคประจำตัวหรือความเจ็บป่วยอื่นๆ,
แบบแผนการดำเนินชีวิตประจำวัน, ความกดดันทางด้านจิตใจ, การออกกำลังกาย
อาการปวด(ตำแหน่ง,ลักษณะ), ความผิดปกติในการขับถ่ายปัสสาวะ, ความผิดปกติเกี่ยวกับลักษณะปัสสาวะ, ความผิดปกติเกี่ยวกับจำนวนปัสสาวะ, อาการบวม, มีก้อนในท้อง
การตรวจ
ทางห้อง
ปฏิบัติการ
การตรวจปัสสาวะ=ปริมาตร, สี, กรด-ด่าง,
ความขุ่น, กลิ่น, ตรวจหาโปรตีน, ตรวจ
น้ำตาลในปัสสาวะ, ตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์
เจาะเลือดตรวจ=BUN, Creatinine
การตรวจ
พิเศษ
ส่องกล้อง, Renal Biopsy(ตัดชิ้นเนื้อ), IVP, CTไต, Renal angiography
ระบบปัสสาวะ
Uro
ไม่ติดเชื้อ
Non infection
การอุดกั้น
ของทางเดิน
ปัสสาวะ
(นิ่ว)
Lithiasis
นิ่วในไต
(Renal Calculi,
RC)
มักพบในผู้ใหญ่ หากยังมีขนาดเล็กจะเคลื่อนที่ตามแรงบีบลงสู่กระเพาะปัสสาวะ, ถ้านิ่วก้อนใหญ่จะไม่เคลื่อนที่ โดย นิ่วชนิดนี้จะไม่เกิดการอุดตันในทันที
อุดกั้นเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จะมีอาการปวดมากจนดิ้น, ปัสสาวะเป็นเลือด, กดเจ็บบริเวณไต
นิ่วในหลอดไต
(Ureteric Calculi, UC)
ก้อนนิ่วมักหลุดมาจากไต ส่วนใหญ่อุดกั้นเพียงบางส่วน ถ้านานๆท่อไตจะโป่งพอง เกิดภาวะไตบวมน้ำ
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
(Vesical calculi, VC)
ส่วนมากเกิดการอุดกั้นที่คอปัสสาวะ มักเกิดการคั่งค้างของปัสสาวะร่วมกับการติดเชื้อ
อาการ ถ่ายปัสสาวะลำบาก, ปวดเอว ปวดหลัง ปวดท้อง พบปัสสาวะสีเหลืองเข้ม-ขุ่น-เป็นเลือด มีแบคทีเรีย หนองและตกตะกอนแขวนลอย
อุดกั้นบางส่วน, อุดกั้นอย่างสมบูรณ์, อุดกั้นทางเดินปัสสาวะส่วนบนหรือส่วนล่าง
ถ้าไตข้างหนึ่งเสียหน้าที่ ไตข้างที่เหลือจะทำหน้าที่ทดแทนจนเท่ากับการทำงานของไต 2 ข้าง
การรักษา แก้ไขปัญหาปัสสาวะคั่งเฉียบพลัน, ระบายปัสสาวะเหนือตำแหน่งที่อุดกั้น, ขจัดการติดเชื้อ
สาเหตุ พันธุกรรม, ความผิดปกติของต่อม พาราไทรอยด์, มีการตีบแคบระบบทางเดินปัสสาวะ, ปัสสาวะข้น, กรด-ด่าง, การอักเสบ-ติดเชื้อ, สิ่งแปลกปลอมหลุดเข้าไป, ยาบางอย่าง, สภาพโภชนาการ โดย การทำหน้าที่ของไตลดลง, ระคายเคืองเฉพาะที่
การตรวจ
วินิจฉัย
ตรวจพบระดับแมกนีเซียมฟอสเฟต, ตรวจหาพาราไทรอยด์ฮอร์โมน, KUBดูว่านิ่วอยู่บริเวณใด, IVPฉีดสารทึบรังสีแล้วถ่ายภาพเพื่อประเมินการทำหน้าที่ของไต
การรักษา
การผ่าตัด
การผ่าตัดกรวยไตเอานิ่วในไตออก (pyelolithotomy)
การผ่าตัดเข้าไปที่ไต , การผ่าตัดไตออก , การส่องกล้อง ฯลฯ
การสลายนิ่ว
อาศัยคลื่นเสียงความถี่สูงวิ่งผ่านน้ำ กระทบนิ่วแตกละเอียด เศษนิ่วหลุดออกมาทางปัสสาวะ หรือใช้แสงเลเซอร์
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
(Bladder cancer)
เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ในกระเพาะปัสสาวะที่มีการแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์อย่างรวดเร็วและมากผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกขึ้นมา ลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียง และแพร่กระจายเข้าสู่กระแสเลือด มีโอกาสกลับมาเป็นซ้ำสูง
สาเหตุ การสูบบุหรี่, เป็นนิ่วเรื้อรัง, สัมผัสสารเคมีนานๆ, กินเนื้อปิ้งย่าง, อาหารไขมันสูง
อาการ ระยะแรก ปัสสาวะเป็นเลือด ไม่มีอาการเจ็บปวดร่วมด้วย , ระยะลุกลาม ปวดท้องน้อย คลำได้ก้อน
การตรวจ ตรวจปัสสาวะ, CBC, CT scan, MRI, ตรวจหาเซลล์มะเร็งในน้ำปัสสาวะ, IVP, การส่องกล้อง, ตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจ
การรักษา โดยการผ่าตัด, รังสีรักษา, เคมีบาบัด
กระเพาะปัสสาวะพิการ
เนื่องจากประสาท
ได้รับอันตราย
Neurogenic Bladder
กระเพาะปัสสาวะทำงาน
ผิดปกติจากโรคและความ
ผิดปกติของประสาท
ที่มาเลี้ยง
การฝึกกระเพาะปัสสาวะ
(Bladder training)=การ
จัดน้ำดื่ม,จัดท่า,จัดเวลา
ให้ฝึกถ่ายปัสสาวะ
ติดเชื้อ
Uro Infect
กระเพาะ
ปัสสาวะ
อักเสบ
Cystitis
การอักเสบของผนังกระเพาะปัสสาวะ มักมีสาเหตุจากการติดเชื้อ แบคทีเรีย E. Coli ร้อยละ 80 อื่นๆคือ เชื้อรา, แบคทีเรีย แกรมลบต่างๆ โดยมักมาจาก การมีก้อนนิ่ว, คาสายสวน, สรีระเพศหญิง, การมีเพศสัมพันธุ์, การฉายรังสี
เนื้อเยื่อจะบวมแดงทั่วไปหรือเป็นหย่อมๆ หากเรื้อรังความจุของกระเพาะปัสสาวะจะลดลง
เจ็บปวดขณะถ่ายปัสสาวะ, ปัสสาวะบ่อย บางครั้งกลั้นไม่ได้, ปัสสาวะขุ่น หรือสีโคล่าหรือสีแดง, ไข้สูง อ่อนล้า, คลื่นไส้
การพยาบาล ให้ความรู้, ให้ยาแก้ปวด, หลีกเลี่ยงการสวนปัสสาวะ, ดื่มน้ำมากๆ, บันทึกจำนวนสารที่เข้าและออก, งดเว้นเครื่องดื่มคาเฟอีนและแอลกอฮอล์, ประคบร้อน, พยายามถ่ายปัสสาวะบ่อยๆ, ดูแลรักษาความสะอาด, ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การติดเชื้อ
ทางเดินปัสสาวะ
Urinary Tract
Infection (UTI)
เกิดการอักเสบของระบบทางเดินปัสสาวะจากการติดเชื้อ รวมถึงการติดเชื้อตั้งแต่ท่อปัสสาวะไปจนถึงไต ส่วนมากเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย สามารถแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นได้
แบบไม่ซับซ้อน=ติดเชื้อในผู้ที่แข็งแรง โครงสร้างปกติ, แบบซับซ้อน=ติดเชื้อในผู้อ่อนหรือมีโครงสร้างระบบทางเดินปัสสาวะผิดปกติ
เชื้อแบคทีเรียเข้าสู่ระบบทางเดินปัสสาวะได้ 3 ทางคือ ติดเชื้อย้อนกลับขึ้นไปจากท่อปัสสาวะ, ชื้อโรคกระจายตัวมาทางกระแสเลือด, เชื้อโรคกระจายมาทางกระแสน้ำเหลือง
อาการ Upper UTI=เจ็บชายโครง ร่วมกับมีไข้หรือไม่ก็ได้ อาจพบเชื้อหลายชนิด, Lower UTI=ปัสสาวะบ่อย แสบขัด หรือมีปัสสาวะเป็นเลือด
ปัจจัยเสี่ยง นิ่ว, VUR, ปัสสาวะที่ค้าง, เบาหวาน, อายุ, พฤติกรรม, ใส่สายสวนนาน, การสูบบุหรี่
การรักษา ให้ยาปฏิชีวนะตาม bacteria sensitive,
ยาแก้ปวด ยาลดไข้, ตรวจติดตามผลการตรวจปัสสาวะ
Nephro: Infection
กรวยไตอักเสบ
(pyelonephritis : PLN)
เกิดการอักเสบโดยทั่วไป อาจเกิดหนองเป็นหย่อม ๆ บริเวณเนื้อไต หลอดไต
acute pyelonephritis
ยังไม่เเสดงอาการเฉพาะอย่างชัดเจน
นอกจากมีไข้สูง หนาวสั่น
การรักษา
ยาปฏิชีวนะควรให้ยาตาม bacteria sensitive
Chronic pyelonephritis
มักเกิดจากการไหลย้อนกลับของ
ปัสสาวะจากกระเพาะ
ปัสสาวะสู่ท่อไต
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ เช่น ซัลโฟนาไมด์
พยาธิสรีรวิทยากรวยไตอักเสบ
ขยายใหญ่ขึ้น การติดเชื้ออย่างรุนแรงเป็นหย่อมๆ ขรุขระ
จากการเกิดแผลเป็นและมีผังผืด หน้าที่ของไตจะเลวลงจนในที่สุดเกิดภาวะไตวายได้
การพยาบาล
ผู้ป่วยมักมีไข้สูง หนาวสั่น ควรดูแลให้เกิดความสุขสบาย ช่วยเช็ดตัวลดไข้
ให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพของตนเอง
การประเมินสัญญาณชีพ
มีการติดเชื้อที่กรวยไต
เกิดการบวมที่กรวยไต
มีการอักเสบของเนื้อไตโดยทั่วไป
เนื้อเยื่อของไตจะบวมและเกิดแผลเป็น
ขนาดไตเล็กลง
1 more item...
อาการอาการเเสดง
ระคายเคืองของกระเพาะปัสสาวะ
ปวดบริเวณไตทั้งสองข้าง
ภาวะเเทรกซ้อน
ความดันโลหิตสูง
ทำให้เกิดสภาวะขาดเลือดไปเลี้ยงเนื้อไตเป็นส่วนๆ มีการสร้างเรนนิน (renin) และแอนจิโอเทนซิน (angiotensin) มีผลกระตุ้นให้เกิดความดันโลหิตสูง
ภาวะ (Uremia)
เมื่อยูเรียและครีเอตินินสูงขึ้นจนถึงระดับ
ที่ทำให้เกิดอาการทางกระเพาะลำไส้
ได้แก่ การเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
Acute GlomeruloNephritis
สาเหตุ
โรคนี้มักเกิดตามหลังการติดเชื้อแบคทีเรีย กลุ่ม Betastreptococcus group A เช่น ต่อมทอนซิลอักเสบ
อาการอาการเเสดง
1.ปัสสาวะเป็นเลือด 2.ความดันโลหิตสูง 3.อาการบวม
4.ปัสสาวะน้อย 5.อาการไข้
กิจกรรมการพยาบาล
มีไข้ ให้ยาลดไข้ เช็ดตัวลดไข้
หายใจหอบเนื่องจากมีภาวะน้ำเกิน ดูแลให้ออกซิเจน
ปัสสาวะออกน้อย ดูแลให้ยาขับปัสสาวะ
ให้ยาลดเกร็งการหดตัวของกระเพาะปัสสาวะ เช่นUrispas
นางสาวณัฐธยาน์ บุญศรี UDA6280003