Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพยาบาลหลังคลอดดดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง - Coggle Diagram
บทที่ 9 การพยาบาลหลังคลอดดดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยาของมารดาหลังคลอด
ระบบหายใจ
มารดาหายใจสะดวกขึ้นความจุภายในช่องท้องและกะบังลมปอดขยยขึ้น
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การทำงานของไตจะค่อยๆกลับสู่สภาพปกติ
12-24 ชั่วโมงแรกหลังคลอดจะถ่ายปัสสาวะจำนวนมาก
ร้อยละ 50 อาจตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ ซึ่งถือเป็นปกติ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
สัปดาห์แรกหลังคลอดพบว่ามีการเพิ่มระดับของเกล็ดเลือดและ fibinogen
สัญญาณชีพ
ชีพจร
ระยะคลอดควรมีชีพจรปกติ อาจมีบางราบอัตราการเต้นของชีพจรช้าลง 50 ครั้ง/นาที
อุณหภูมิ
24 ชั่วโมงแรกหลังคลอดอาจพบอุณภูมิร่างกายสูงขึ้นได้ ไม่เกิน 80 องศา
ความดันโลหิต BP
ควรมีลักษณะคงที่ภายหลังการคลอด
ปริมาณเลือดในร่างกายจะลดลงสุ่ระดับปกติเหมือนก่อนตั้งครรภ์ในระยะ3-4 สัปดาห์หลังคลอด
ระบบทางเดินอาหาร
มารดามักรู้สึกหิวน้ำและกระหายน้ำทันทีหลังคลอดเสร็จ
ดูแลมารดาหลังคลอดได้รับน้ำและอาหาร
ระบบอวัยวะสืบพันธ์
มดลูก(uretus)
ภายพลังคลอดทันที ระดับยอดมดลูกจะฟดรัดตัวแข็งอยู่ต่ำกว่าสะดือ 1FBระหว่างสะดือกับหัวหน่าว
จะลดลงเหมือนก่อนตั้งครรภ์ เรียกว่า มดลูกเข้าอู่ใช้เวลา 6 สัปดาห์
อาการปวดมดลูก
ทำให้การหดรัดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อมดลูกสลับกันเป็นอาการปกติ
ขณะที่ให้บุตรดูดนมมารดาอาจมีอาการปวดรุนแรงอิทธิพลของฮอร์โมนออกซิโทซิน
มดลูกจะมีการลดลงประมาณวันละ 1 FB หรือ 1.5 นิ้วฟุต
ชั่วโมงแรกหลังคลอดระดับยอดมดลูกที่อยู่ระดับสะดืออาจเกิดจากการที่มีเลือดหรือก้อนเลือดมาคั่งอยุ่
เยื่อบุโพรงมดลูกและบริเวณรกเกาะ
เยื่อบุโพรงมดลูกได้รับการซ่อมแซมอย่างสมบูรณ์ประมาณปลายสัปดาห์ที่ 3หลังคลอด
บริเวณที่รกเกาะมีการหายของแผลช้าอาจเกิดการตกเลือดในระยะหลังคลอด หรือทำให้มดลูกเข้าอู่ช้า
น้ำคาวปลา
น้ำคาวปลามีสีแดงสดอยู่เรื่อยไป อาจเกิดจากการมีเศษรกตกค้าง
ถ้ามีกลิ่นเห็นเน่า แสดงถึงการติดเชื้อ
ปากมดลูก(The cervix)
18 ชั่วโมงหลังคลอดปากมดลูกจะสั้นลงและแข็งขึ้นเริ่มกลับคืนสู่ปกติ
2-3 วันหลังคลอดปากมดลูกยืดขยายได้ง่าย อาจสอดนิ้วเข้าไปได้
ช่องคลอดและปากช่องคลอด
ช่องคลอด
การลดลงของฮอร์โมนเอสโตรเจนในระยะหลังคลอด
การลงลงของฮอร์โมนเอสโตรเจนทำให้ช่องคลอดแห้ง
การลดลงของเอสโตรเจน บสมช้ำ อ่อน นุ่มตึงตัวน้อยลง
ปากช่องคลอดจะคืนสภาพใน2สัปดาห์หลังคลอด ดูแลความสะอาดให้ดี
ฝีเย็บ(perineum)
เกิดการหย่อนสมรรถภาพของกล้ามเนื้อฝีเย็บโดยเฉพาะในรายที่ผ่านการคลอดมากกว่า 1 ครั้ง
การปรับตัวด้านจิตสังคมและบทบาทการป็นมารดาหลังคลอด
ระยะที่1 พฤติกรรมพึ่งพา
เฉื่อยชาไม่ค่อยเคลื่อนไหว
บทบาทการพยาบาล
ตอบสนองด้านจิตใจ
แสดงออกถึงความเข้าใจ ถึงความกังวลต่อการปรับตัว
ตอบสนองความต้องการของร่างกาย
สนับสนุนให้สามีและญาติได้มีส่วนร่วมในการดูแลมารดาหลังคลอด
มารดาต้องการพักผ่อนอย่างเพียงพอและความช่วยเหลือจากผู้อื่น
ระยะที่3 พฤติกรรมพึ่งพาตนเอง
ปรับตัวต่อทารกที่ต้องการการพึ่งพาและให้การช่วยเหลือ
บทบาทการพยาบาล
กระตุ้นให้สามีและครอบครัวช่วยเหลือแบ่งเบาภาระการเลี้ยงดูบุตร
กระตุ้นให้มารดาและสามีจัดสรรเรื่องเวลาให้ซึ่งกันและกัน
ให้คำแนะนำมารดาหลังคลอดและครอบครัวเกี่ยวกับการวางแผนดำเนินชีวิต
แนะนำมารดาแบ่งเวลาให้ตัวเองบ้าง
ยอมรับว่าได้แยกออกจากทารกทางด้านร่างกายทารกไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของร่างกายตน แต่แยกเป็นอีกบุคคลหนึ่ง
ระยะที่2พฤติกรรมกึ่งพึ่งพา
ที่เหมาะสมสำหรับที่จะทำให้มารดาหลังคลอดมีความมั่นใจในตนเอง
บทบาทการพยาบาล
ให้แนะนำ สาธิต ความรู้และวิธีการเกี่ยวกับการดูแลตนเอง
ส่งเสริมให้สามีมีส่วนร่วมในการดูแลแก่มารดาตามสมควร
กระตุ้นให้มารดาหลังคลอดใช้ความสามารถตนเองในการตอบสนองความต้องการ
เมื่อมารดาหลังคลอดยังทำไม่ถูกต้องให้กำลังใจ ชมเชย เมื่อสามารถทำถูกต้อง
มารดาปรับตัวกับชีวิตใหม่พึ่งพาตนเองมากขึ้นสนใจบุตรมากขึ้นพร้อมจะเรียนรู้
การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด
การบริหารร่างกายหลังคลอด
ท่าบริหารร่างกายหลังคลอด
นอนคว่ำ ท่านี้ช่วยให้เข้าอู่เร็วขึ้น และน้ำคาวปลาไหลสะดวก
นอนหงาย ทำติดต่อกัน 15-20 ครั้ง/รอบ ควรทำช่วงเวลา เช้า กลางวัน
นั่งเอนหลังเล้กน้อย ท่านี้ช่วยบริหารหน้าท้องและฝึกการหายใจ
นอนหงายชันเข่า ท่านี้ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
การดูแลตนเองหลังคลอด
การพักผ่อน
ขณะให้นมบุตรไม่ควรหลับอเพราะเต้านมอาจปิดจมูกจนหายใจไม่ออกได้
หาโอกาสพักผ่อนในช่วงที่บุตรนอนหลับ
รับประทานอาหาร
สัปดาห์แรกไม่กล้าเบ่งอุจจาระกลัวเจ็บแผล ควรรับประทานอาหารให้ครบถ้วนและควรดื่มน้ำหรือนมเพิ่มมากขึ้น
อาหารควรหลีกเลี่ยง
อาหารหมักดอง
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ คาเฟอีน
อาหารรสจัด
มารดาที่มีภาวะโภชนาการดีย่อมทำให้สามาตรผลิตน้ำนมให้ทารกเพียงพอและมีคุณภาพที่ดี
การดูแลความสะอาด
อาบน้ำอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง สระผมสัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง
สิ่งที่ควรระวัง คือ อาบน้ำนานเกินไป จะทำให้ร่างกายป่วยได้
อาการผิดปกติที่ควรมาโรงพยาบาลและการมาตรวจตามนัด
บริเวณแผลมีอาการบวมแดง อักเสบหรือเจ็บแผลมากกว่าปกติ
น้ำคาวปลามีสีแดงเข้ม ปริมาณไม่ลดลง หรือมีกลิ่นเหม็น
ปัสสาวะบ่อยและแสบขัด
มีไข้หนาวสั่นโดยไม่มีสาเหตุ
ปวดท้องมาก
ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ตาพร่ามัว จุกเสียดหน้าอก ชัก
เต้านมปวด บวม แดง มีเลือดหรือมีหนองไหลออกมาหัวนม
การมีเพศสัมพันธ์
สามารถทำได้ตั้งแต่ประมาณ 5-6 สัปดาห์หลังคลอด
ควรหลีกเลี่ยงการมีเพสสัมพันธ์ขณะที่มีเลือดออกจากช่องคลอด
ควรเริ่มมีกิจกรรมอย่างช้าๆ คล้ายกับมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกๆ
การให้คำแนะนำมารดาเรื่องการดูแลทารกและการให้นมบุตร
การดูแลทารก
สะดือจะหลุดภายใน 7-14 วัน ดูแลให้โคนสะดือและสะดือแห้งเสมอ
ห้ามใช้แป้งโรยสะดือ
การถ่ายอุจจาระ
ทำความสะอาดด้วยสำลีหรือเช็ดด้วยผ้าชุบน้ำต้มสุก
ทารกที่กินนมมารดาจะถ่ายบ่อย มีสีเหลือง จะมีเม้ดเล็กๆ เพราะนมแม่ย่อยง่าย ช่วยระบายท้อง
ห้ามเช็ดกลับไปมา
การให้นมบุตร
ภายหลังการให้นมบุตรต้องอุ้มเรอทุกครั้ง
ท่าอุ้มทารกในการเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดา
ท่าอุ้มข้างตัก
ท่าอุ้มขวางตักประยุกต์
ท่าอุ้มฟุตบอล
ท่านอนให้นม
ให้บุตรดูดนมมารดาทุก 2 ชม.ไม่ต้องให้น้ำตาม
เจ็บแผลฝีเย็บ
ควรเฝ้าระวังก้อนเลือดคลั่ง บริเวรปากช่องคลอด และช่องคลอด
การพยาบาล
ประเมินแผลฝีเย็บตามหลัก REEDAP
การใช้ผ้าอนามัยเย็นประคบที่แผลฝีเย็บทันทีหลังคลอด
ประเมิน pain score ระวัง Hematoma
อธิบายว่าอาการแผลฝีเย็บ จะหายประมาณ 7 วันและจะหายสนิทภยใน 3 สัปดาห์
การมีไข้ในมารดาหลังคลอด
การพยาบาล
ดูแลให้พาราเซตามอล
ให้สารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
เช็ดตัวลดไข้เพื่อความสุขสบาย
ริดสีดวงทวาร
ดื่มน้ำมากๆป้องกันท้องผูก
รับประทานอาหารที่มีกากใย ผัก ผลไม้ ธัญพืช
แช่ก้นในน้ำอุ่นช่วยลดอาการปวด
หลีกเลี่ยงการเบ่งอุจจาระ/การนั่งนานๆ
แนะนำให้นอนตะแคง
อาการปวดมดลูก
การพยาบาล
อธิบายว่าเป็นเรื่องปกติช่วยป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
แนะนำให้นอนคว่ำ เพื่อระบายน้ำคาวปลา และช่วยบรรเทา
ดูแลให้พาราเซตามอลเพื่อบรรเทาอาการปวดก่อนให้นมบุตร
อาการท้องผูก
กระตุ้นให้เคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็ว กระตุ้นการไหลเวียนเลือด
ส่งเาริมการทำงานของกระเพาะและลำไส้
ปัสสาวะลำบาก
รับประทานน้ำให้มากขึ้นภ้ายังแสบขัดและกระปริบกระปรอยต้องรายงานแพทย์
กระตุ้นความอยากปัสสาวะ โดยการเอาน้ำราดบริเวณSymphysis pubis
ถ้าปัสสาวะไม่ออกใน 6-8 ชั่วโมงหลังคลอดให้ทำ Intermitent Cath
การขับถ่าย
ปัสสาวะ
ติดตามการขับถ่ายปัสสาวะ ลักษณะ ปริมาณ
อุจจาระ
ความบอบช้ำของเนื้อเยื่อบริเวณ ทวารหนักและฝีเย็บ การมีริดสีดววง มารดาไม่อยากถ่ายอุจจาระ
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดา ทารก และบิดาหลังการคลอด
4.ตอบสนองความต้องการของมารดาทั้งร่างกาย จิตใจ
5.กระตุ้นให้มารดามีปฏสัมพันธ์ที่ดีกับบุตร
3.ให้กำลังใจ คำปรึกษา แนะนำมารดาเกี่ยวกับบุตร ดูแลบุตร
6.เป็นแบบแผนสร้างสัมพันธภาพกับทารก
2.จัดให้มารดาอยู่กับบุตรโดยเร็ว
7.จัดให้บิดา มารดา ทารก มีโอกาสอยู่ร่วมกันตามลำพัง
1.ส่งเสริมให้มารดามีโอกาสสัมผัสบุตรในระยะ sensitive period
8.ติดตามประเมินพฤติกรรมสัมพันธภาพระหว่างมารดา-ทารก บิดา-ทารก
ส่งเสริมสัมพัธภาพมารดาและทารก
สร้างทฤษฎีความรักใคร่ผูกพันเน้นช่วงเวลาสั้นๆ sensitive period
การให้มารดาโอบกอดทารก