Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็ก, ชื่อ น.ส.สุชานาถ สุโขประสพชัย รหัสนักศึกษา 62111301093…
การพยาบาลเด็ก
ไฟไหม้น้ำร้อนลวก
-
พยาธิสภาพ
เนื้อเยื่อของร่างกายเมื่อสัมผัสกับความ
ร้อน มีการทำลายของ หลอดเลือดส่งผลให้เนื้อเยื่อบริเวณนั้นตายทำให้มีเลือดมากเลี้ยงน้อยลงจากหลอดเลือดถูกทำลายทำให้มีการรั่วของสารน้ำ
ออกนอกหลอดเลือดเกิดการรั่วไหลของพลาสมาซึ่งมีส่วนของอัลบูมินบริเวณนั้นเกิดการบวมของเนื้อเยื่อ
-
ความลึกของบาดแผล
-
-
ระดับ 3
มีการทำลายของหนังกำพร้าและหนังแท้ทั้งหมด รวมถึงต่อมเหงื่อ รูขุมขน และเซลล์ประสาท และอาจลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อหรือกระดูก
-
-
การรักษา
-
-
-
การตกแต่งบาดแผล เป็นการกำจัดเนื้อตายจากบาดแผล ช่วยลดการติดเชื้อ เพราะจะกำจัดเนื้อเยื่อที่มีเชื่อจุลินทรีย์
การปลูกถ่ายผิวหนัง ทำทุกรายที่ผิวหนังถูกเผาไหม้ทุกชั้นหลังจาก เนื้อเยื่องอกขึ้นมาเต็มและตัดเอาเนื้อตายออกหมด แผลสะอาดดี การปลูกถ่ายที่ดีที่สุดคือเอาผิวหนังของเด็ก
-
-
การจมน้ำ
พยาธิสภาพ
เมื่อเด็กจมน้ำและหายใจในน้ำครั้งแรก เด็กจะไอจากการระคายเคืองที่มีน้ำในจมูก และคอ น้ำจะเข้ากล่องเสียงทำให้เกิดการหดเกร็ง อากาศและน้ำเข้าหลอดลมไม่ได้เกิดภาวะขาดออกซิเจน ตตามด้วยการสูดหายใจนำน้ำเข้าปอดทำให้ถุงลมเต็มไปด้วยน้ำ
การจมน้ำเค็ม
ทำให้เกิดภาวะ pulmonary edema
ปริมาตรน้ำที่ไหลเวียนในร่างกายลดลงเกิดภาวะ hypovolemia ระดับเกลือแร่ในร่างกายสูงขึ้น หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจวาย ช็อกได้
การจมน้ำจืด
จะซึมผ่านเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิตของ
ปอดอย่างรวดเร็วเกิด hypervolemia ทำให้ระดับเกลือแร่ในเลือดลดลงหัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจวาย อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกhemolysis
-
การ CPR เด็ก
-
วัดตำแหน่งที่เหมาะสำหรับการนวดหัวใจ โดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางข้างที่ถนัดวาดจากขอบชายโครงล่างของผู้ป่วยขึ้นไป จนถึงปลายกระดูกหน้าอกวัดเหนือปลายกระดูกหน้าอกขึ้นมา 2 นิ้วมือ แล้วใช้สันมือข้างที่ไม่ถนัดวางบนตำแหน่งดังกล่าว จากนั้นใช้สันมือข้างที่ถนัดวางทับลงไป และเกี่ยวนิ้วมือให้นิ้วมือที่วางทับแนบชิดในร่องนิ้วมือของมือข้างล่างยกปลายนิ้วขึ้นจากหน้าอก
ผู้ช่วยเหลือยืดไหล่และแขนเหยียดตรง จากนั้นปล่อยน้ำหนักตัวผ่านจากไหล่ไปสู่ลำแขนทั้งสองและลงไปสู่กระดูกหน้าอกในแนวตั้งฉากกับลำตัวของเด็ก กดลงไปลึกประมาณ 2 นิ้ว หรือประมาณ 5 เซนติเมตร ของความหนาหน้าอก โดยกดลงไปในแนวดิ่งและอย่ากระแทก ทั้งนี้ให้ทำสลับกับการเป่าปาก โดยเป่าปาก 2 ครั้ง กดหน้าอก 30 ครั้ง
-
กระดูกหักและข้อเคลื่อน
หมายถึง
-
ข้อเคลื่อน
หมายถึงภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ที่ควรจะอยู่หรือกระดูกหลุดออกจากเบ้าซึ่งการบาดเจ็บของข้อและกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่
โดยรอบกระดูกหลอดเลือดน้ำเหลืองเส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
-
อาการและอาการแสดง
-
บวม เนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักพลาสมาซึมเข้าสู่เนื้อเยื่อหรือกระดูกเกยกันก็ทำให้ดูบริเวณนั้นใหญ่ขึ้น
-
-
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเคลื่อนไหวถูกจำกัด เช่น ข้อติดแข็งกล้ามเนื้อลีบ แผลกดทับ การขับถ่ายผิดปกติ การติดเชื้อที่ปอด ทางเดินปัสสาวะ
การพยาบาล
กระตุ้นให้เด็กได้ มีการออกกำลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ ที่ไม่ได้ถูกจํากัดการเคลื่อนไหวด้วยตนเองในรายที่เข้าเฝือกแนะนำให้ออกกำลังโดยการ
เกร็งกล้ามเนื้อที่อยู่ในเฝือกบ่อยๆ
-
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการเคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มน้ำให้ เพียงพอ เพื่อช่วยให้การขับถ่ายอุจจาระเป็นไปได้ง่าย
-
-
การได้รับสารพิษ
สารพิษือสารเคมีที่สภาพเป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ ซึ่งสามารถเข้าสู่ร่างกายโดย การรับประทาน การฉีด การหายใจ หรือสัมผัสทางผิวหนัง ทำให้อันตรายต่อโครงสร้างและหน้าที่ของร่างกาย
-
-
-
-