Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ และสารพิษ - Coggle Diagram
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ
และสารพิษ
ภาวะสำลักสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
การมีสิ่งแปลกปลอมอุดตันทางเดินหายใจในเด็ก
เด็กอายุน้อยกว่า1ปี
3.พลิกเด็กให้หงายบนแขนอกข้าง วางบนตักให้ศีรษะต่ำกว่า แล้วกดหน้าอกโดยใช้2นิ้วของผู้ช่วย กดบนกระดูกหน้าอกในต่ำแหน่งเส้นลากระหว่างหัวนมทั้งองข้างลงมา หนึ่งความกว้างนิ้วมือ
2.เคาะหลัง 5 ครั้งติดต่อกันโดยเคาแถวๆกึ่งกลางระหว่างสะบักทั้งสองข้าง
1.วางเด็กคว่ำลงบนแขน และวางแขนนั้นลงบนหน้าตัก โดยให้ศีรษะของเด็กอยู่ต่ำ
4.ทำซ้ำจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา
5.หากเด็กหมดสติ ให้ประเมินการหายใจ ชีพจร และช่วยเหลือการหายใจสลับกับการเคาะหลังและกดหน้าอก
เด็กอายุมากกว่า1ปี
1.กระตุ้นให้เด็กไอเอง
2.หากเด็กไม่สามารถพูดได้ มีอาการหนักเช่นหายใจลำบาก ซีด เขียว ให้ทำการกดท้อง โดยผู้ช่วยยืนข้างหลังเด็ก แล้วอ้อมแขนมาข้างหน้า
กำมือและวางกำปั้นด้านข้าง(ด้านหัวแม่มือ)บนกึ่งกลางหน้าท้องเหนือสะดือเด็ก และกดโดยให้แรงมีทิศทางเข้าด้านในและเฉียงขึ้นบน
3.กดซ้ำจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา
4.หากเด็กหมดสติ ให้ประเมินการหายใจ ชีพจร และช่วยเหลือการหายใจสลับกับการเคาะหลังและกดหน้าอก
ปัญหาที่เกิดตามหลังจาการสำลัก
เกิดการอุดกั้นการระบายของเสมหะในทางเดินหายใจ เกิดปัญหาปอดอักเสบ หลอดลมอักเสบ การติดเชื้อตามมา
เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนต้น ยิ่งในเด็กเล็กการอุดกั้นเพียงเล็กน้อย ก็อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
เกิดการอุดกั้นของหลอดลมส่วนปลาย อาจเกิดภาวะปอดแฟบ ปอดพอง หรือหอบหืดได้
Chest compression
Child
100-120 ครั้ง/นาที
ตำแหน่งกึ่งกลางท่อนล่างกระดูกหน้าอก
ลึก 5 cm. (1/3ความหนาทรวงอก)
กดโดยใช้มือเดียว อีกข้างทำการเปิดทางเดินหาย
Infant
100-120 ครั้ง/นาที
ตำแหน่งกึ่งกลางท่อนล่างกระดูกหน้าอก
ลึก 4 cm. ( 1.5 นิ้ว หรือ1/3ความหนาทรวงอก)
กดโดยใช้นิ้วมือสองนิ้ว มืออีกข้างให้ทำการเปิดทางเดินหาย
Adult
ลึก 5-6 cm. (2.0-2.4 นิ้ว )
ตำแหน่งกึ่งกลางท่อนล่างกระดูกหน้าอก
กดโดยใช้สองมือ
100-120 ครั้ง/นาที
การจมน้ำ
1.การจมน้ำเค็ม (Salt-water Drowning)
น้ำเค็ม (Hypertonic solution)
ทำให้เกิดภาวะ pulmonary edema ปริมาณน้ำที่ไหลเวียนในร่างกายลดลง
เกิดภาวะ hypovolemia ระดับเกลือแร่ในร่างกายสูงขึ้น หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจวาย ช็อก
2.การจมน้ำจืด (Freshwater-Drowning)
น้ำจืด (Hypotonic solution)
เกิดภาวะ hypervolemia ทำให้ระดับเกลือแร่ในเลือดลดลง หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจวาย
เกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกแตกhemolysis
จะซึมผ่านเข้าสู่ระบบไหลเวียนของปอดอย่างรวดเร็ว
Near-Drowning ผู้ที่จมน้ำ แต่ไม่เสียชีวิตทันที บางรายอาจเสียชีวิตต่อมาในช่วงเวลาสั้นๆ
Drowning ผู้ที่เสียชีวิตจากการจมน้ำ
การปฐมพยาบาลที่ไม่ถูกหลัก
การอุ้มเด็กพาดบ่า แล้วเขย่ากระทุ้งบริเวณหน้าท้อง หวังให้น้ำที่เด็กสำลักเข้าไป ออกจากร่างกาย
เป็นวิธีที่ไม่ควรทำ เนื่องจากน้ำที่ออกมาเป็นน้ำในกระเพาะ ไม่ใช่น้ำที่สำลักลงสู่ปอด อาจเกิดอาการช้ำจากแรงกระแทกได้
วิธีการช่วยที่ดีที่สุด
กรณีเด็กหมดสติ ให้เช็กว่ายังมีลมหายใจอยู่ไหม หัวใจเต้นหรือเปล่า ถ้าไม่ ให้รีบโทรเรียกหน่วยพยาบาลโดยด่วน และช่วยชีวิตพื้นฐานโดยการนวดหัวใจสลับกับการช่วยหายใจ
กรณีเด็กรู้สึกตัว ให้รีบเช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อผ้า ใช้ผ้าคลุมตัวเพื่อให้เกิดความอบอุ่น จัดให้นอนในท่าตะแคงกึ่งคว่ำ และรีบนำส่งโรงพยาบาล
สารพิษ( Poisons)
การปฐมพยาบาลเมื่อสารเคมีเข้าตา
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี
ล้างตาด้วยน้ำสะอาดอย่างน้อย 15 นาที เปิกก๊อกรินไหลค่อยๆ
บรรเทาอาการปวดและรักษาช็อค
ปิดตา และนำส่ง รพ.
การปฐมพยาบาลผู้ได้รับสารพิษทางผิวหนัง
ล้างน้ำสะอาดอย่างน้อย 15 นาที
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี
บรรเทาอาการปวดและรักษาช็อค
ปิดแผลและนำส่ง รพ.
การปฐมพยาบาลผู้ได้รับสารพิษทางเดินหายใจ
การกลั้นหายใจ และรีบเปิดประตูหน้าต่าง เพื่อให้อากาศถ่ายเท
ให้ผู้ป่วยอยู่ในบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์
ประเมินการหายใจ หรือการเต้นของหัวใจ ถ้าไม่พบให้ผายปอดและนวดหัวใจ และรีบส่ง รพ.
การปฐมพยาบาลผู้ได้รับสารกัดเนื้อ
การปฐมพยาบาล
อย่าทำให้อาเจียน
รีบนำส่ง รพ.
ถ้ารู้สึกตัวดี ให้ดื่มนม
อาการ
คลื่นไส้ อาเจียนกระหายน้ำ ภาวะช็อก
ไหม้พอง ร้อนบริเวณริมฝีปาก ปาก ลำคอและท้อง
การปฐมพยาบาลผู้ได้รับสารพิษทางปาก
ให้สารพิษเจือจางโดยให้นม
ส่ง รพ. เพื่อทำการล้างท้อง เอาสารพิษออกจากกระเพาะ
ให้ผู้ป่วยอาเจียน เพื่อเอาสารพิษออกจากกระเพาะอาหาร
ข้อห้าม 1.ผู้ป่วยหมดสติ 2.ได้รับสารพิษชนิดกัดเนื้อ 3.ทานสารพิษพวกน้ำมันปิโตรเลียม
ให้สารดูดซับสารพิษในระบบทางเดินอาหาร ลดการดูดซึมเข้าร่างกาย
สารที่ใช้ดี Activated charcoal จะเป็นผงถ่าน 1 ช้อนโต๊ะ ละลายน้ำ 1 แก้ว ให้ดื่ม หรือไข่ขาว 3-4 ฟองตีให้เข้ากัน
การประเมินภาวะการได้รับสารพิษ
หายใจขัด หายใจลำบาก มีเสมหะมาก อาการริมฝีปากและปลายมือปลายเท้าเขียว ลมหายใจมีกลิ่นสารเคมี
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง น้ำลายฟูมปาก หรือมีรอยไหม้นอกบริเวณริมฝีปาก มีกลิ่นสารเคมรบริเวณปาก
เพ้อ ชัก หมดสติ อาการอัมพาตบางส่วน หรือทั่วไป ขนาดช่องม่านตาผิดปกติ
ตัวเย็น เหงื่ออกมาก ผื่นหรือจุดเลือดออกตามผิวหนัง
การจำแนก
1.ชนิดกัดเนื้อ(Corrosive)
ทำให้เนื้อเยื้อไหม้ พอง เช่น สารละลายกรด-ด่างเข้มข้น น้ำยาฟอกขาว
2.ชนิดทำให้ระคายเคือง (Irritants)
เกิดอาการปวดแสบ ปวดร้อน และการอักเสบตามา
ฟอสฟอรัส สารหนู อาหารเป็นพิษ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
3.ชนิดที่กดระบบประสาท(Narcotics)
ทำให้หมดสติ หลับลึก ปลุกไม่ตื่น ม่านตาหดเล็ก
เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน พิษจากงูบางชนิด
4.ชนิดที่กระตุ้นระบบประสาท (Dililants)
เช่น ยาอะโทรปีน ลำโพง
ทำให้เกิดอาการเพ้อคลั้ง ใบหน้า-ผิวหนังแดง ตื่นเต้นชีพจรเต้นเร็ว ช่องม่านตาขยาย
**แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก(Burns)
อาการ
บาดแผลที่เกิดตามข้อพับต่างๆ อาจทำให้แผลดึงรั้ง เหยียดออกไม่ได้ ถ้าเกิดบริเวณใบหน้า อาจทำให้เป็นแผลเป็น
บริเวณแผลที่มีขนาดใหญ่ อาจทำให้ร่างกายเสียน้ำ โปรตีน เกลือแร่ อาจช็อก หรือติดเชื้อได้
การพยาบาล
1.ล้างแผล-แช่แผลด้วยน้ำสะอาด และใช้ผ้าก็อซ-ผ้าแห้งสะอาดปิดแผลไว้
2.แผลตุ่มน้ำใส ห้ามใช้เข็มเจาะระบายน้ำอก เข็มอาจไม่สะอาด อาจทำให้แผลติดเชื้อบาดทะยัก หรือแผลอักเสบ
3.ถ้าแผลกว้าง เช่น 10-15% อาจทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะช็อก หรือเกิดแผลที่บริเวณใบหน้าอาจทำให้หายใจไม่สะดวก ควรรีบส่ง รพ.
Degree of burn wound
First degree burn
บาดแผลที่ทำลายเซลล์ผิวหนังกำพร้าชั้นนอกเท่านั้น ชั้นในไม่ถูกทำลาย และยังสามารถเจริญขึ้นมาแทนที่ใหม่ได้ ปกติจะหายเร็วและสนิท ไม่เกิดแผลเป็น นอกจากเกิดการติดเชื้อ
Second degree burn
(Superficial partial-thickness burns)
ทำลายหนังกำพร้าทั้งชั้นนอก-ใน แต่ยังมีชั้นหนังแท้ ที่ยังเจริญขึ้นมาทดแทนได้ จึงหายเร็วภายใน2-3 สัปดาห์ และไม่เกิดแผลเป็นยกเว้นเกิดการติดเชื้อ
พุพองเป็นตุ่มน้ำใส ผิวหนังหลุดลอก เห็นเนื้อชมพูหรือแดงๆ น้ำเหลืองซึม
ปวดแสบปวดร้อน เพราะเส้นประสาทบริเวณผิวหนังยังเหลืออยู่ ไม่ถูกทำลายมากนัก
ทำให้สูญเสียน้ำ โปรตีน เกลือแร่ เกิดการติดเชื้อง่าย
(Deep partial-thickness burns)
หายได้ใน 3-6สัปดาห์ ใช้ยาปฏิชีวนะช่วยลดแผลติดเชื้อ
บาดแผลทำลายหนังแท้ส่วนลึก
ไม่มีตุ่มพุพอง แผลสีเหลืองขาว แห้ง ไม่ปวด
เกิดแผลเป็นได้แต่ไม่มาก ถ้าไม่ติดเชื้อซ้ำ
(Third degree burn)
มีโอกาสเกิดแผลหดรั้ง ข้อยิดติดสูง ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง
ทำลายชั้นหนังกำพร้าและหนังแท้ทั้งหมด รวมถึงต่อมเหงื่อและเซลล์ประสาท อาจลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อ