Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างตลาด การกำหนดราคาและปริมาณสินค้าและบริการ - Coggle Diagram
โครงสร้างตลาด การกำหนดราคาและปริมาณสินค้าและบริการ
ตลาด
กิจกรรมการตกลงซื้อขายสินค้าและบริการรวมทั้งปัจจัยการผลิต การที่ผู้ซื้อและผู้ขายสามารถแลกเลี่ยนกันได้สามารถเกิดขึ้นได้ทุกแห่งถ้า มีอุปสงค์และอุปทานตลาดก็เกิดขึ้นได้
โครงสร้างตลาด
แบ่งตามผลผลิต
ตลาดปัจจัยการผลิต (Factor market)
ตลาดทุน (Capital/Stock market)
ตลาดยา (Product market)
แบ่งตามลักษณะการแข่งขัน
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfect market)
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (perfect market)
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ผู้ขายสามารถเข้าและออกจากกิจการได้อย่างเสรี (Freedom of entry or exit)
สินค้าสามารถโยกย้ายได้อย่างอิสระ
สินค้าที่ซื้อขายกนในตลาดมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ (Homogeneous product)
ผู้ซื้อและผู้ขายมีความรอบรู้เกี่ยวกบสภาพของตลาดได้เป็นอย่างดี (Perfect Knowledge)
มีผู้ซื้อขายจำนวนมาก
ข้อดีของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ด้านผู้บริโภค
ราคาที่ถูกกำหนดขึ้นในสภาพการแข่งขัน เป็นราคาที่ยุติธรรมต่อผู้บริโภค
ด้านผู้ผลิต
ส่งผลให้ผู้ผลิตปรับปรุงสินค้าและบริการของตน เพื่อการแข่งขันกบผู้ผลิตรายอื่นๆ
ด้านสังคม
ทำให้สังคมมีการใช้ทรัพยากรต่างๆอยางคุ้มค่า เพื่อประสิทธิภาพทางธุรกิจ
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfect competition market)
ผู้รับบริการไม่ทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกบสินค้าและบริการที่ต้องการมากนัก
สินค้าและบริการมักอยู่ในโครงสร้างตลาดผูกขาด และผู้ขายน้อยราย
เป็นสินค้าและบริการที่จำเป็นต่อชีวิต
ตลาดผูกขาดสมบูรณ์ (Monopoly)
มีการกีดกันการเข้าสู่ตลาดสูง (เงินทุน สัมปทาน ใบประกอบวิชาชีพ )
ไม่จำเป็นต้องส่งเสริมการขายมากนัก
สินค้าหรือบริการ เป็นสินค้าที่ไม่มีสินค้าอื่นมาทดแทนได้เลย
ผู้ผลิตหรือผู้ขาย มีอำนาจกำหนดราคาสูง
ตลาดที่มีผู้ผลิตหรือผู้ขาย เพียงรายเดียว
สาเหตุที่ก่อให้เกิดการผูกขาด
ผู้ผลิตเป็นเป็นผู้ผูกขาดทรัพยากรที่ใช้ในการผลิต จึงมีอำนาจผูกขาดตลาดสินค้าด้วย
มีการกีดกนจากภาครัฐ เช่น สัมปทาน สิทธิบัตร ใบอนุญาติ
การกีดกนเนื่องจากการประหยัดต่อขนาด ผู้ผลิตรายย่อย สามารถแข่งขันทางด้านราคาได้
ผู้ซื้อ-ผู้ขาย ไม่ได้รับทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกบสินค้าหรือบริการล่าช้า หรือไม่ทั่วถึง
ข้อเสียของตลาดผูกขาด
สินค้าหรือบริการมักมีความคล้ายคลึง แต่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
มีการกีดกนการเข้าสู่ตลาดพอสมควร
ตลาดที่มีผู้ขายหรือผู้ผลิต เพียงไม่กี่ราย
การแข่งขันมักจะเน้นการส่งเสริมการขาย และโฆษณา
ยิงระดับการผูกขาดมาก การผลิตอาจไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากไม่มีคู่แข่ง ทางการค้าตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly)
ผู้ผลิตหรือผู้ขาย มีอำนาจกำหนดราคาพอสมควร
ผู้ซื้อไม่มีตัวเลือกในการเลือกซื้อสินค้าหรือบริการมากนัก
ผลผลิตอาจไม่พอต่อความต้องการ และอาจมีราคาสูง
ข้อดีของตลาดผูกขาด
มีการผลิตสินค้าหรือบริการที่มีคุณประโยชน์จากภาครัฐ ซึ่งเอกชนจึงไม่สนใจผลิต เนื่องจากไม่มีแรงจูงใจทางด้านกาไร
การมีอำนาจผูกขาด อาจช่วยส่งเสริมด้านการวิจัยพัฒนาต่อยอด ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง นวัตกรรมใหม่ๆในอุตสาหกรรม
ในกรณีต้องใช้เงินลงทุนเยอะ รัฐบาลต้องเข้ามาควบคุม เนื่องจากผู้ผูกขาดอาจตั้งราคาสูง จนผู้บริโภคเดือดร้อน
ตลาดแข่งขันกึ่งผูกขาด
การเข้าและออกจากการดำเนินการผลิต เป็นไปได้โดยเสรี
การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตเป็นไปได้ง่าย
สินค้ามีความแตกต่างกนในสายตาผู้บริโภค แต่สามารถใช้ทดแทนกันได้บ้าง
ข้อมูลข่าวสารค่อนข้างสมบูรณ์
มีผู้ซื้อขายจำนวนมากคล้ายๆตลาดแข่งขันสมบูรณ์