Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อนามัยสิ่งแวดล้อม, นางสาว พิมประภา จิโน รหัสนักศึกษา 6131901073…
อนามัยสิ่งแวดล้อม
การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
การจัดหาน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค
แหล่งน้ำสำหรับอุปโภค
แหล่งน้ำผิวดิน
แหล่งน้ำใต้ดิน
แหล่งน้ำจากบรรยากาศ
การพิจารณาน้ำสำหรับอุปโภคและบริโภค
คุณสมบัติทางกายภาพคือ ลักษณะของน้ำ ที่สามารถวิเคราะห์ได้โดยทางกายสัมผัส
คุณสมบัติทางเคมี
คุณสมบัติทางจุลชีววิทยา
การกำจัดน้ำเสีย
ค่าความสกปรกของน้ำวัดได้จากค่า DO, BOD, COD
แหล่งกำเนิดน้ำเสีย
น้ำเสียจากชุมชน
น้ำเสียจากอุตสาหกรรม
น้ำเสียจากการเกษตร
การบำบัดน้ำเสีย
การบำบัดน้ำเสียโดยวิธีกายภาพ ใช้ในการกำจัดของแข็งที่ไม่ละลายน้ำที่อยู่ในรูปของแข็งหรือแขวนลอยปะปนอยู่ในน้ำเสีย
การบำบัดน้ำเสียโดยวิธีทางเคมี ใช้ในการกำจัดสารประกอบต่าง ๆ ที่ส่วนมากเป็นการทำให้เกิดตะกอน การเติมและลดออกซิเจน
การบำบัดน้ำเสียโดยวิธีทางชีววิทยํา ใช้ในการกำจัดสารอินทรีย์ที่อยู่ในน้ำเสีย ที่จุลินทรีย์สามารถย่อยสลายได้ คือ การกำจัดแบบใช้ออกซิเจน และไม่ใช้ออกซิเจน
การสุขาภิบาลอาหาร
เนื่องจากอาหารที่บริโภคจะต้องไม่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคจากมี
สิ่งที่ทำให้เกิดโรคหลายชนิดเข้าสู่ร่างกายได้ทางปากพร้อมน้ำและอาหารจะทำให้ผู้บริโภคเกิดการเจ็บป่วยได้ ผู้ซึ่งปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับอาหารหรือผู้สัมผัสอาหารจึงมีหน้าที่ที่จะต้องรับผิดชอบต่อสุขภาพของผู้บริโภค
การควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค
การควบคุมและกำจัดยุง
การป้องกันการรบกวนและการกัดของยุง
การป้องกันการเกิดของยุง
การควบคุมแมลงวัน
การควบคุมโดยใช้สารเคมีทำลายตัวอ่อนและตัวแก่ของแมลงวัน
การควบคุมโดยชีววิธี โดยศัตรูธรรมชาติของแมลงวัน
การควบคุมด้านการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เป็นการควบคุมที่ให้ผลถาวร
การควบคุมโดยวิธีกล โดยการใช้กับดักแมลงวัน หรือใช้ไม้ตีแมลงวัน
การควบคุมและกำจัดหนู
การปรับปรุงด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เป็นวิธีนี้ที่ดีที่สุด เช่น การป้องกันมิให้หนูเข้าสู่อาคารที่พักอาศัยโดยปิดหรืออุดทางหนูเข้าออก
การทำลายหนูโดยตรง เช่น การใช้กับดัก การใช้สารเคมี ได้แก่ การรมควัน ยาเหล่านี้มีพิษร้ายแรงต่อคนมาก การใช้ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ และการวางยาเบื่อ
การใช้สิ่งมีชีวิตช่วยควบคุม สิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติที่เป็นศัตรูกับหนู เช่น สุนัข แมว เป็นต้น แต่จะให้ผลดีหรือไม่นั้นต้องมีมนุษย์ควบคุมอีกทีหนึ่ง
การจัดการขยะ
การทิ้งหรือถมที่ (Dumping)
การเผา (Burning)
การฝัง (Burial)
การเลี้ยงสัตว์ (Hog Feeding)
การหมัก (Composition)
การบด (Grinding)
การนำขยะกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ (Re - cycle and Re - use)
การกำจัดมูลสัตว์ สามารถทำได้โดย เผา อัดแน่นแล้วกลบด้วยดินไปใช้เป็นปุ๋ย
การจัดการสิ่งปฏิกูล
การบำบัดสิ่งปฏิกูล เป็นการเปลี่ยนสภาพสิ่งสกปรกในสิ่งปฏิกูล
เพื่อทำลาย ลด หรือควบคุมป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคที่ปนมากับสิ่งปฏิกูล
เพื่อทำการย่อยสลายสารอินทรีย์ในสิ่งปฏิกูล หรือลดค่าบีโอดีของสิ่งปฏิกูลเพื่อป้องกันการเกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ
การกำจัดสิ่งปฏิกูล เป็นการนำสิ่งปฏิกูลที่ผ่านการบำบัดหรือผลผลิตที่เกิดจากการบำบัดต่าง ๆ ไปกำจัดทิ้ง หรืออาจนำไปใช้ประโยชน์
การจัดการฝุ่นละออง
การสัมผัสกับมลพิษทางอากาศ สามารถนำไปสู่ผกระทบต่อสุขภาพที่หลากหลายทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ตั้งแต่การเจ็บป่วยทางเดินหายใจ ไปจนถึงเป็นโรคมะเร็ง และปัญหาสายตา
ฝุ่นละอองขนาดเล็กเหล่านี้ เมื่อเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ จะเกาะตัวหรือ
แตกตัวได้ในส่วนต่าง ๆ ของระบบทางเดินหายใจ ก่อให้เกิดการระคายเคืองและท าลายเนื้อเยื่อของอวัยวะนั้นๆ
ความหมาย ขอบเขต ความสำคัญของสิ่งแวดล้อม
ขอบเขตงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
กํารจัดหาน้ำสะอาดเพื่อการอุปโภค และบริโภค
การควบคุมมลพิษทางน้ำเป็นการป้องกันและรักษาคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำต่าง ๆ ไม่ให้เกิดมลพิษและเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ
การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
การควบคุมสัตว์อาร์โทรพอด และสัตว์แทะ
การป้องกันและควบคุมมลพิษทางดิน
การสุขาภิบาลอาหาร, กํารควบคุมมลพิษทางอากาศ,กํารป้องกันอันตรายจากรังสี
อาชีวอนามัย, การควบคุมมลพิษทางเสียง, การวางผังเมือง เป็นต้น
แนวคิดและหลักการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน
แนวคิดเชิงนิเวศวิทยา
เมื่อมนุษย์มีการใช้ประโยชน์ จากสิ่งแวดล้อมมากจนเกิดการขาดความสมดุลในระบบนิเวศน์ อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ ได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม
แนวคิดทางระบาดวิทยา
การเกิดโรคและการกระจายของโรคในชุมชนมีสาเหตุจากอิทธิพลของ 3 ปัจจัย คือ สิ่งที่ท าให้เกิดโรค (Agent) มนุษย์ (Host) และสิ่งแวดล้อม (Environment) ในภาวะปกติจะมีความสมดุลระหว่างปัจจัยทั้งสามทำให้ไม่เกิดโรค
ในภาวะผิดปกติจะเกิดความไม่สมดุลระหว่างปัจจัยทั้งสาม อาจมี
สาเหตุจากสิ่งที่ทำให้เกิดโรคเปลี่ยนแปลงไป
ความหมายของ อนามัยสิ่งแวดล้อม
หมายถึง การจัดกาได้ดีก็จะส่งผลให้มนุษย์มีความเป็นอยู่ที่ดีทั้งร่างกายจิตใจและสังคมรและควบคุมสิ่งแวดล้อมที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หรือมีสภาพที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพของคนเราและเมื่อมีการจัดการ หรือควบคุมสิ่งแวดล้อม
ความสำคัญของอนามัยสิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน
ส่งเสริมเศรษฐกิจของชาติ เมื่อทุกคนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงปราศจากโรคภัย ย่อมต้องเกิดแรงงานที่มีความสามารถสูง
ลดอัตราการป่วยตายของประชาชน ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินงานสุขาภิบาลเพื่อป้องกันโรค
ส่งเสริมความเจริญของประเทศชาติ เมื่อทุกคน ทุกครอบครัวและทุกท้องถิ่นมีเศรษฐกิจดีเศรษฐกิจของชาติย่อมดีขึ้นด้วย
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยเศรษฐกิจ
สถานการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดการจ้างงานและการใช้ทรัพยากรที่เพิ่มขึ้น จนก่อให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อสุขภาพ
ปัจจัยทางสังคม
โครงสร้างประชากรที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโครงสร้างประชากรวัยสูงอายุที่อายุยืนยาวมากขึ้นทำให้สังคมมีความเป็นเมืองมากขึ้น ทำให้ผู้คนมีพฤติกรรมบริโภคนิยม ทำให้มีความต้องการใช้ทรัพยากรมากขึ้น จึงส่งผลให้สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป
การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
มลพิษทางอากาศ เกิดจากยานพาหนะที่ใช้ในการคมนาคม โรงงานอุตสาหกรรมและโรงงานผลิตพลังงานในรูปแบบต่างๆ เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตของประชากรโลก
การจัดเก็บสารเคมีไม่เหมาะสม เช่น การจัดเก็บยาฆ่าแมลงไว้ในบ้าน การไม่สวมอุปกรณ์ป้องกันขณะใช้สารเคมีทั้งในบ้านและสถานที่ทำงาน อาจก่อให้เกิดการได้รับสารพิษเฉียบพลันโดยไม่ตั้งใจ
การจัดการแหล่งน้ำการกักเก็บน้ำใช้ และการกำจัดน้ำเสียไม่เหมาะสม การมีแหล่งน้ำขัง เป็นแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค เช่น ยุง ที่เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตในประชากรทั่วโลก
ควันไฟ ที่เกิดจากการประกอบอาหารด้วยฟืนหรือน้ำมันเชื้อเพลิงภายในบ้าน เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตของโรคระบบทางเดินหายใจของประชากรโลก
การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ หรือภาวะโลกร้อนเป็นผลมาจากการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลืองของประชากรโลก ทำให้เกิดการทำลายสิ่งแวดล้อมจนเกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่ส่งผลให้เกิดโรคชนิดใหม่จากเชื้อโรค บางชนิดที่มีความทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดีขึ้นจนยากต่อการรักษา
การบริโภคน้ำที่ไม่สะอาด การสุขาภิบาลและสุขลักษณะส่วนบุคคลที่ไม่ดี เป็นสาเหตุสำคัญของโรคอุจจาระร่วงจนเสียชีวิตของประชากรโลก
ผลกระทบต่อสุขภาพจากความเสี่ยงอนามัยสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบต่อระบบไหลเวียนเลือดในร่างกาย เช่น สารตะกั่วที่ปนเปื้อนจากสี
ผลกระทบต่อระบบประสาทของร่างกาย เช่น ยาฆ่าแมลง หรือยากำจัดวัชพืชในงานเกษตรกรรม
ผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ เกิดจากการได้รับปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เช่น ไอระเหยสารเคมี ฝุ่นละออง ควันไฟและยาฆ่าแมลง
ผลกระทบต่อผิวหนังเกิดจากการได้รับปัจจัยเสี่ยงจากสารเคมีหรือฝุ่นละอองรวมทั้งขนสัตว์หรือเกสรดอกไม้ ที่มีผลต่อผิวหนัง เช่น มีอาการผดผื่น แสบคันที่ผิวหนัง
บทาทหน้าที่พยาบาลกับการอนามัยสิ่งแวดล้อม
หน้าที่
Identifying risks ค้นหา ประเมินความเสี่ยงของบุคคล ครอบครัวและชุมชน ต่อการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมที่เป็นอันตราย
Communicating risks การสื่อสารความเสี่ยง
Assessing exposures ประเมินภาวะสุขภาพของผู้ป่วย ผู้รับบริการ เพื่อรวบรวมข้อมูลของการสัมผัสกับปัจจัยอันตรายจากสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพ
Epidemiologic investigations เป็นผู้สืบสวน สอบสวนปัญหาจากสิ่งแวดล้อม
Policy development มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพที่มีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อม
บทบาท
เป็นผู้ให้ความรู้และคำแนะนำ (Educator)
เป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor)
เป็นผู้ให้บริการ (Health care provider)
เป็นผู้ประสานงาน (Coordinator)
เป็นผู้บริหารจัดการ (Manager)
เป็นผู้ดำเนินการวิจัย (Researcher/innovator)
เป็นผู้นำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Leader/Change agent)
เป็นผู้พิทักษ์สิทธิ์ (Advocator)
นางสาว พิมประภา จิโน รหัสนักศึกษา 6131901073 สำนักพยาบาลศาสตร์