Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาลแบบองค์รวมแก่บุคคลวัยใหญ่และ ผู้สูงอายุที่มีความผิดปกติของระบบต่อม…
การพยาลแบบองค์รวมแก่บุคคลวัยใหญ่และ
ผู้สูงอายุที่มีความผิดปกติของระบบต่อมไร้ท่อ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติ
ของธัยรอยด์ฮอร์โมน
ภาวะธัยรอยด์ฮอร์โมนน้อยกว่าปกติ
(Hypothyroidism)
2.ต่อมธัยรอยด์อักเสบ
การอักเสบชนิดกึ่งเฉียบพลัน
การอักเสบชนิดเรื้อรัง
ต่อมธัยรอยด์อักเสบเฉียบพลัน
3.คอพอก
คอพอกธรรมดา
คอพอกชนิดสปอโรติก
1.ภาวะธัยรอยด์ฮอร์โมนต่ำจากเนื้อเยื่อต่อมมีน้อยหรือไม่มีเนื้อเยื่อต่อมที่จะสร้างธัยรอดซิน
เกิดตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์มารดา
ขาดธัยรอยด์ฮอรโมนในผู้ใหญ่
สาเหตุ
การขาดฮอรgโมนที่กระตุ้นต่อมธัยรอยด์
กระบวนการปฏิกิริยาออโต้อิมมูน
ของร่างกาย
1.ภาวะธัยรอยด์ฮอร์โมนต่ำจากไม่มีเนื้อเยื่อที่จะสร้างธัยรอคซินเกิดจากต่อมธัยรอยด์ไม่พัฒนาตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา
ความบกพร่องในการสังเคราะห์
ธัยรอยด์ฮอร์โมน
อาการและอาการแสดง
ผลของการขาดธัยรอยด์ฮอร์โมน
จะทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ดังนี้
ระบบผิวหนัง
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบประสาท
ระบบหลอดเลือดและหัวใจ
ระบบหายใจ
ระบบกระดูก
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และตรวจพิเศษ
ประวัติ การซักประวัติของผู้ป่วยด้านต่างๆ
การรักษา
ในรายที่เกิดภาวะธัยรอยด์ฮอร์โมนต่ำ จากการอักเสบของต่อม
ผู้ป่วยที่เป็นคอพอกธรรมดา
ให้ธัยรอยด์ฮอร์โมน จํานวนลีโวธัยรอคซิน
(Levothyroxine) เพื่อทดแทนฮอร์โมนที่ขาดไป
ให้ไอโอดีน ทดแทนไอโอดีนที่ขาด
ในรายที่เนื้อเยื่อต่อมธัยรอยด์ถูกทําลาย หรือไม่มีเนื้อเยื่อของต;อมในการสร้างธัยรอคซินจะต้อง ให้ธัยรอคซินเข้าไปทดแทน
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวินิจฉัย 3. ขาดความสมดุลของการเผาผลาญอาหารและพลังงาน กับอาหารที่ได้รับ
การวินิจฉัย 4. ไม่สามารถถ่ายอุจจาระได้ตามปกติ จากการเคลื่อนไหวของลําไส้ลดลง
การวินิจฉัย 2. มีการคั่งของน้ําระหว่างเซลล,จากการไหลเวียนช้าลง
การวินิจฉัย 5. การสื่อความหมายไม่ชัดเจน จากลิ้นโตคับปาก หูตึง ประสาทเสื่อม ความคิดช้าและมี
การวินิจฉัย 1. มีแนวโน้มที่จะเกิดอาการไมรู้สึกตัว จากระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนลดลงทําให้กล้ามเนื้อหัวใจ ขาดเลือดไปเลี้ยงหลอดเลือดตีบแข็ง และมีไขมันเกาะที่ผิวของหลอดเลือด
การวินิจฉัย 6. ขาดความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปใช้ชีวิตประจําวัน
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะธัยรอยด์
ฮอร์โมนมากว่าปกติ
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
การตรวจระบบกล้ามเนื้อและประสาท การตรวจปฏิกิริยาสะท้อนของ
ระบบประสาท (Reflex) จะพบมีความไว้ขึ้น ตกใจง่าย อารมณ์อ่อนไหว
การตรวจระบบผิวหนัง ผิวหนังอุ่นหรือเย็น ผิวละเอียดนุ่มเนียน
ชุ่มชื้น หรือแห้งหยาบ แผงแห้งหยาบ แข็ง
การตรวจระบบหัวใจและหลอดเลือด ตรวจสอบจาก
สัญญาณชีพ คือ ค่าความดันโลหิต มีลักษณะเป็นอย่างไร
การตรวจระบบทางเดินอาหาร ฟังเสียงการทํางานของการ
เคลื่อนที่ของลําไส้มากหรือน้อย มีอาการ ท้องผูก หรือท้องเสียรับประทานอาหารบ่อยครั้ง และมาก
การตรวจคอ คลําที่ต่อมธัยรอยด์ว่าโตขึ้นหรือเล็กลง
ลักษณะของต่อมเป็นอย่างไร เรียบ เป็น ตะปุ่มตะป่ำแข็ง อ่อนนุ่ม เคลื่อนที่ได้ หรือติดแน่น เจ็บหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การหาค่าแอนติบอดี้ต่อต่อมธัยรอยด์
(Thyroid Antibody Test)
การบันทึกภาพการจับไอโอดีน (Scannogram)
การหาค่าไตรไอโดไธโรนินในเลือด (T3) ค่าปกติ
100-130 นาโนกรัมเปอร์เซ็นต์
การตรวจชิ้นเนื้อของต่อมธัยรอยด์ (Thyroid
Biopsy)
การหาระดับของธัยรอคซิน (T4) ในเลือด
การตรวจวัดอัตราการเผาผลาญพื้นฐาน (Basal
Metabolit Rate = BMR) ค่าปกติร้อยละ +20
ประวัติ
การรักษา
รักษาด้วยการทําผ่าตัด
รักษาด้วยรังสี (Radioactive iodine)
รักษาด4ตัวยยา
อาการและอาการแสดง
อาการที่เกิดจากผลของธัยรอคซิน
เพิ่มขึ้นในกระแสเลือดทําให้กระบวนการเผาผลาญเพิ่มขึ้นทําให้มี
ผลต่อระบบต่าง ๆ คือ
1.2 หัวใจและหลอดเลือด
1.3 ตามีลักษณะโปน (Exopthalmos)
1.1 การย่อยและการดูดซึมอาหาร
1.4 อาการทางระบบประสาท
อาการที่เกิดจากต่อมธัยรอยด์
ขยายใหญ่ขึ้น จะทําให้เกิดอาการ ดังนี้
2.1 ก้อนเนื้องอกที่โตขึ้นจะกดอวัยวะ
ข้างเคียง กดหลอดลม หลอดอาหารและประสาทที่กล่องเสียง (Recurrent Laryngeal) ทําให้หายลําบาก
2.2 ในรายที่เป็นเนื้องอกชนิดราย
จะทําให้มีการแพร่กระจายของมะเร็ง
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวินิจฉัย 5. มีแนวโน้มจะเกิดภาวะแทรกซเอนจากการทําผ่าตัดต่อมธัยรอยด์เนื่องจากการเตรียมตัวไม่ดีหรือจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด
การวินิจฉัย 6. อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจาการรักษาด้วยรังสี
การวินิจฉัย 3. อาจเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจากร่างกายใช้พลังงานและการใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น
การวินิจฉัย 7. ขาดความรู้เกี่ยวกับเรื่องคอพอกเป็นพิษ และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
การวินิจฉัย 2. มีแนวโน4มจะเกิดอันตรายต่อตา เนื่องจากเปลือกตาปูดไม่สนิททําให้ตาดําแห้ง และ กลายเป็นแผลที่ตาดํา
การวินิจฉัย 1. ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ เนื่องจากการเผาผลาญในร่างกายสูง รับประทานอาหารจุแตรน้ําหนักลด
การทํางานของต่อมธัยรอยด์ที่มากกว่าปกติ
แบ่งออกตามลักษณะการเกิด
โรคพลัมเมอร์ (Plummer’s Disease)
เนื้องอกของต่อมธัยรอยด์(Toxic Nodular)
โรคเกรฟ (Grave’s Disease
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพาราธัยรอยด์ฮอร์โมน
มากเกินไป (Hyperparathyroidism)
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ให้กลูโคคอร์ติคอยด์ (Glucocorticoids)สยาที่ใช้คือ เพรตนิโซโลน ผลของยาต่อกล้ามเนื้อและกระดูก ทําให้การดูดซึมของแคลเซี่ยมที่
ลําไส้ลดลง
แคลซิโทนิน (Calcitonin) เป็นฮอร์โมนที่มีผลทํา
ให้แคลเซี่ยมในพลาสม่าลดลงโดยมีฤทธิ์ตรงข้ามกับพาราธัยรอยด์ฮอร์โมน
ให้โซเดี่ยม ฟอสเฟต (Sodium Phosphate)ทางหลอด
เลือดดําเพื่อชดเชยฟอสเฟตในร่างกายและช่วยลดระดับแคลเซี่ยมในพลาสม่าโดยป้องกันไม่ให้แคลเซี่ยมดูดซึมใน
ระบบทางเดินอาหาร
การรักษาด้วยการทําผ่าตัด
ต่อมพาราธัยรอยดgออกบางส่วน (Subtotal
Parathyroidectomy) เพื่อให้การหลั่งพาราธัยรอยด์ฮอร์โมนลดน้อยลงทําให้แคลเซี่ยมในพลาสม่าลดลงผลแทรกซ้อนจากการทําผ่าตัด คือ ภาวะตกเลือดมีการติดเชื้อประสาทที่กล่องเสียงถูกรบกวนหรือถูกทําลาย
อาการและอาการแสดง
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ผลของพาราธัยรอยด์ฮอร์โมนที่เพิ่มขึ้น ทําให้ระดับแคลเซี่ยม
ในเลือดเพิ่มขึ้น ทําให้การดูดซึมกลับของแคลเซี่ยมเพิ่มขึ้นและลดการดูดซึมฟอสเฟต ทําให้ฟอสเฟตถูกขับออกมากับปัสสาวะ
เพิ่มขึ้นทําให้เกิดภาวะปัสสาวะเป็นด่างและจากการที่ไตดูดแคลเซี่ยมกลับเพิ่มขึ้นทําให้แคลเซี่ยมตกตะกอน และเกาะที่เซลล์
ของหลอดไตเกิดมีนิ่วในไต
ผลต่อกระดูก
ฮอร์โมนจะกระตุ้นการสร้างล้างกระดูกและการสลายกระดูก
แต่ฤทธ์ิของ พาราธัยรอยด์ฮอร์โมนสูง มีผลทําให้การสลายกระดูกมากว่าการสร่าง ทําให้แคลเซี่ยมถูกดึงออกมากระดูกจะ
เปราะบางหักได้ง่าย และมีอาการปวดกระดูก
ระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
ผลของแคลเซี่ยมที่อยู่ในรูปที่แตกตัวอยู่จะทําให้เกิดการ
หดตัวของ กล้ามเนื้อ มีความสามารถในการซึมผ่านของน้ําและแร่ธาตุต่าง ๆ ที่เยื่อหุ้มเซลล์
ผลต่อตา
เกิดจากสารประกอบแคลเซี่ยมที่สูงกว่าปกติในเลือด ทําให้สารประกอบ
แคลเซี่ยม ฟอสเฟตไปเกาะที่รอบ ๆ ตาดํา ทําให้เกิดพยาธิสภาพที่เรียกว่าลิมปัส เคอราโทพาที (Limbus Keratopthy) ทําให้มีอาการคันตา
ระบบทางเดินอาหาร
ทําให้กระตุ้นการดูดซึมแคลเซี่ยม เพิ่มขึ้น ทําให้เบื่ออาหาร
คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง และมีการหลั่งแกสตริน (Gastrin)เพิ่มขึ้นทําให้กระเพาะ อาหารมีการหลั่งกรดเกลือเพิ่มขึ้น
อาการอื่น ๆ ที่พบ คือ
จะพบว่ามีอาการคันตามผิวหนัง โลหิตจางจากหน้าที่การ
สร้างเม็ดเลือดแดง ลดลง และพบอาการตับอ่อนอักเสบ
วินิจฉัยการพยาบาล
การวินิจฉัย 3. มีโอกาสเกิดแผลในกระเพาะอาหารและลําไส้จากภาวะกรดในกระเพราะอาหารเพิ่มขึ้น
การวินิจฉัย 4.มีการเปลี่ยนแปลงด้านการขับถ่ายจากการท้องผูกนื่องจากลําไส้เคลื่อนไหวน้อยลง
การวินิจฉัย 2.มีแนวโน้มจะเกิดภาวะหัวใจวายจากปริมาณแคลเซี่ยมในซีรั่มเพิ่ม
การวินิจฉัย 5.ขาดความรู้เกี่ยวกับเรื่องกระบวนการของโรคอาการการรักษาและการดูแลตัวเอง
การวินิจฉัย 1.มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุทําให้กระดูก
หักได้
การวินิจฉัย 6. มีแนวโน้มจะเกิดภาวะแทรกซ้อนภายหลังผ่าตัด
การพยาบาลผู้ป่วยโรคต่อมหมวกไตต่อมหมวกไตส่วนนอก (AdrenalCortex)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของการ
หลั่งฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก
กลุ่มอาการคูชชิ่ง (Cushing’s Syndrome)
อาการที่เกิดจากความผิดปกติของการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอกทํางานมากกว่าปกติทําให้เกิดการหลั่งฮอร์โมนคอร์ติคอยด์มากซึ่งเกิดจาการต่อมหมวกไตเองหรือจากต่อมใต้สมองด้านหน้า
สาเหตุ
การเจริญเติบโตอย่างช้าๆ ของต่อมหมวกไต ทําให้เกิดเป็นเนื้องอกที่ต่อมหมวกไต(Adrenal Adenomas)
จากฤทธิ์ของแอลกอฮอล์ ทําให้เกิดกลุ่มอาการซึ่งมีลักษณะคล้ายคูชชิ่ง(PseudoCushing’s Syndrome)
การเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของต่อมหมวกไต ทําให้เกิดเป็นเนื้องอดชนิดร้ายแรงของต่อมหมวกไต (Adrenal Carcinomas)
เนื้องอกของต่อมใต้สมอง หรือมีพยาธิสภาพของโรคอยู่ที่ต่อมใต้สมองทําให้เกิดการหลั่งฮอร์โมนที่ควบคุมการทํางานของต่อมหมวกไตส่วนนอก(Adrenocorticotrophic Hormone = ACTH) มากกว่าปกติ
การรักษาด้วยคอร์ติโคสเตอรอยด์ (Corticosteroids) เป็นเวลานานทําให้เกิดความผิดปกติของต่อมหมวกไต
2.ความผิดปกติจากภายนอกต่อมใต้สมอง หรือต่อมหมวกไต พบได้โรคมะเร็งปอด
กลูโคคอร์ติคอยด์
อาการและอาการแสดง
ผิวหนัง พบว่าผิวหนังบางมีรอยแตกบริเวณหน้าท้อง (AbdominalStriae) ตะโพก เต้านม ต้นขา ต้นแขน มีสิวที่หน้าและตามลําตัวผิวหนังคล้ำกว่าปกติ มีขนมากตามอก แขน ขา
กระดูกและกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง กล้ามเนื้อลีบ กระดูกเปราะง่าย
ปวดกระดูกและปวดหลัง
การรักษา
การรักษาด4วยการผ/าตัด
การรักษาด้วยการผ่าตัด จุดประสงค์เพื่อลดระดับคอร์ติซอลให้ลดลง ในผู้ป่วยที่เป็นเนื้องอกของต่อมหมวกไตจะทําให้ผ่าตัดเอาต่อมหมวกไตและก้อนเนื้องอกออกข้างเดียว หรือทั้งสองข้าง
การรักษาด้วยรังสี
การรักษาด้วยรังสี มักจะทําควบคูมกับการรักษาด้วยการทําผ่าตัด หรือการรักษาด้วยยาในผู้ป่วยที่เป็น เนื้องอกที่ต่อมพิตูอิตารี่ รังสีที่ใช้ฉาย คือ โคบอลทg - 60 หรือ อีทเทรียม 90 (Yttrium-90)
การรักษาด4วยยา ยาที่ใช4รักษา
ในระยะที่ทําผ/าตัดไม/ได4
การพยาบาลผู้ป่วยที่ขาดฮอร์โมน
จากต่อมหมวกไตส่วนนอก
อุบัติการณ์และระบาดวิทยา โรคแอดดิสัน (Addison’s Disease)
สาเหตุ
การติดเชื้อวัณโรค เชื้อรา และเชื้อฮิสโตพลาสโมซีส
การแพรรกระจายของเนื้องอก
การติดเชื้อที่ทําให้ต่อมหมวกไตอักเสบ จากภาวะออโตอิมมูน
ของร่างกาย ทําให้เซลล์ของต่อมถูก ทําลาย และฝ่อเล็กลง
การขาดเลือดไปเลี้ยงที่ตรอมหมวกไต
การผ่าตัดต่อมหมวกไตออก
อาการและอาการแสดง
อาการเรื้อรังที่เกิดจากการขาด
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต คือ
1.1 อาการที่เกิดจากการขาดแอลโดสเตอโรน ทําให้มีผลต่อระบบต่างๆ ของร่างกาย
1.2 อาการที่เกิดจากการขาดกลูโคคอร์ติคอยด์
1.3 อาการที่เกิดขึ้นจากการขาดแอนโดรเจน
อาการเฉียบพลันที่เกิดการขาด
ฮอรgโมนจากต;อมหมวกไต คือ
อาการปวดศีรษะมาก ปวดท้อง ปวดหลัง ปวดแขน ขา มีอาการท้องเดินหรืออาการท้องผูก มีไข้สูง สับสน กระสับกระส่าย อ่อนเพลีย ไม่รู้สติ
ให้ฮอร์โมนที่สําคัญ คือ คอร์ติซอล (Cortisol) มินเนอราล โล
คอร์ติคอยด์ (Mineralocorticoid) และแอนโดรเจน (Androgen)ถ้าร่างกายสร้างฮอร์โมนดังกล่าวน้อยกว่า ปกติ ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายทําให้เกิดโรคแอดดิสัน (Addison’s Disease)ซึ่งเกิดมีพยาธิ สภาพของต่อมหมวกไตเอง ทําให้ไม่สามารถสร้างฮอร์โมนได้ตามปกติ
การรักษา
ป็นการรักษาด้วยยาโดยการให้ฮอร์โมนที่ขาดเข้าไปทดแทนเช่นการทดแทนด้วยคอร์ติซอล วันละ 20-30 มิลลิกรัม เพรดนิโซโลน(Prednisolone) วันละ 7.5 มิลลิกรัม และให้โซเดียมทดแทนทานอาหาร
หลั่งฮอร์โมน 3 ชนิด
กลูโคคอรgติคอยดg
(Glucocorticoids)
คือ คอร์ติซอล (Cortisol) ทําหน้าที่ควบคุมเมตะบอลิสซึมของคาร์โบไฮเดรท โปรตีนนและไขมัน
ฮอรgโมนเพศ (Sex
Hormone)
แอนโดรเจน (Androgen) ทําหน้าที่ควบคุมการ
หลั่งฮอร์โมนเพศ
มินเนอราลโลคอรgติคอยดg
(Mineralocorticoids)
แอลโดสเตอโรน (Aldosterone) ทําหน้าที่รักษาสมดุลของน้ําและเกลือโซเดียม โดยออกฤทธิ์กระตุ้นการดูดกลับโซเดียมและ คลอไรด์ที่หลอดไตส่วนปลาย (Distal Tublue) และขับโปแตสเซี่ยม
การพยาบาลผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันของโรคเบาหวาน
ภาวะเลือดมีความเข้มข้นโดยไม่เป็นกรด (Hyperglycemia
Hyperosmolar non- Ketotic acidosis or coma)
3.ภาวะเป็นกรดจากกรดแลคติก (Lacticacidosis
ภาวะเป็นกรดจากคีโตน
ภาวะน้ําตาลในเลือดต่ำ(Hypoglycemia)
ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังของโรคเบาหวาน
หลอดเลือดแดงเล็กเสื่อม (Microangiopathy) เช่น หลอดเลือดที่
ตาทําใหเตามองเห็นไม่ชัด หรือตาบอด หลอดเลือดที่ตาทําใหเกิดภาวะไตวาย หรือความดันโลหิตสูง
เส้นประสาทเสื่อม (Diabetic Neuropathy) ทําให้เกิดการชาปลายมือ
ปลายเท้า นอกจากนี้ยังพบภาวะแทรกซ้อนที่ผิวหนัง กระดูก และตําแหน่งที่ฉีดยาอินซูลิน
หลอดเลือดแดงใหญ่เสื่อม (Macroangiopathy)
เช่น หลอดเลือดที่เลี้ยงหัวใจทําให้กล้ามเนื้อหัวใจวาย
การประเมินสุขภาะ
2.การตรวจร่างกาย
ลักษณะทั่วไป รูปร่างอาจอ้วนหรือผอมแล้วแต่ระยะ
เวลาที่เป็น ท่าทาง อ่อนเพลีย ปากแห้ง หน้าแดผิวหนังร้อน เท้าอุ่น มีไข้ตำ่ๆ ถึงไข้สูง (Kussmalrespiration) อาจซึม หรือไม่รู้สึกตัวง
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาระดับน้ําตาลในพลาสม่า 2 ชั่วโมง หลังอาหาร
การทดสอบกลูโคสทอเลอรานซ์โดยการให้ดื่มกลูโคส
(Oral glucose tolerance Test)
การตรวจหาน้ําตาลในเลือด (Fasting Blood Sugar)
การทดสอบคอร์ติโซน กลูโคส ทอเลอรานซ์(Cortisone
glucose tolerance test)
การสุ่มตรวจระดับน้ําตาลในพลาสม่า(Random
plasma glucose)
การวัดขนาดของหลอดเลือดฝอย (Capillary morphometry
การตรวจน้ําตาลและโปรตีนในปัสสาวะ
การซักประวัติโรคเบาหวาน
อาการ
ประวัติการเจ็บปaวยและแผนการดําเนินชีวิต
ประจําวันที่ผ่านมา
อายุ
ชนิดของเบาหวาน
ชนิดพึ่งอินซูลีน (Insulin Dependent Diabetes Mellitus = IDDM)
ชนิดไม;พึ่งอินซูลีน (Non-Insulin Dependent Diabetes Mellitus = NIDDM)
การปฏิบัติการพยาบาล
ดูแลอาหารบําบัดให้ได้ตรงกับที่ได้คํานวณ
และกําหนดไว้
เฝ้าระวังการติดเชื้อ
เฝ้าติดตามประเมินระดับน้ําตาลในเลือด
ดูแลกิจวัตรประจําวัน
พยาธิสรีรวิทยาของโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานเกิดขึ้นจากการที่ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงในการเผาผลาญสารอาหารจําพวกคาร์โบไฮ เดรท ไขมัน และโปรตีน เนื่องมาจากความไม่สมดุลของการใช้กับการสร้างอินซูลีนในร่างกาย
การใช้ยารักษาเบาหวานชนิดรับประทาน
ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน ที่ไม่สามารถ
ควบคุมระดับน้ําตาลในพลาสม่าให้ลดลงสูงเกณฑ์ที่ต้องการด้วยวิธีควบคุมอาหาร น้ําหนักตัว และการออกกําลังกาย
ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน ที่มีอาการรุนแรงจากน้ําตาล
ในพลาสม่าสูง
การพยาบาลจึงต้องเน้นการให้การศึกษาแก่ประชาชนในด้านการป้องกันและให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน สนับสนุนให้กําลังใจผู้ป่วยโรคเบาหวาน และญาติเพื่อสร้างแนวคิดว่าแม้เป็นเบาหวานชีวิตก็ปกติ สุขได้ตามคําขวัญขององค์การอนามัยโลก
ความผดปกติของต่อมพิตูอิตารี่ส่วนหลัง
ไฮโปทาลามัสสร้างฮอร์โมน Antidiuretic (ADH)เข้าสู่กระแสโลหิตตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นโดยออกฤทธิ์ที่ไตทำให้มีการดูดกลับของน้ำไว้ในร่างกาย
กานขาด ADH โรคเบาจืด
กายวิภาคและสรีรวิทยา
จำแนกตามความสำคัญของฮอร์โมน
ที่ต่อมสร้างได้2กลุ่ม
กลุ่มที่1 ต่อมไร้ท่อที่จำเป็นต่อชีวิต
2.ต่อมหมวกไตส่วนเปลือก ควบคุม
ระดับโซเดียมในเลือด
3.ไอสเลทของตับอ่อน ควบคุม
น้ำตาลในเบือด
1.ต่อมพาราธัยรอยด์ ควบคุมระดับ
แคลเซี่ยมในเลือด
กลุ่มที่2 ต่อมไร้ท่อมที่ไม่จำเป็นต่อชีวิต
3.ต่อมหมวกไต
4.ต่อมธัยมัส
2.ต่อมใต้สมอง
5.ต่อมไพเนียล
1.ต่อมธัยรอยด์
6.รังไข่และอัณฑะ
ความผิดปกติที่เกิดจากการสร้าง
ฮอร์โมนต่อมพิตูอิทารีส่วนหน้ามาก
โรคที่เกิดจากต่อทพิตูอิทารีส่วนหน้า
หลั่งฮอร์โมนที่พบได้บ่อย
Gigantism
Acromegaly
การประเมินภาวะสุขภาพ
1..การซักประวัติ ถามประวัติการเจริญ
เติบโต ประวัติการเจ็บป่วยในครวบครัว
2.การตรวจร่างกาย
กระบวนการเกิดภาวะแทรกซ้อน
และพยาธิสภาพทั่วไป
2.ชาตามปลายมือปลายเท้า
3.มีเหงื่อออกมา
1.หลังโก้งและข้ออักเสบ จากการที่
ข้อต้องรับน้ำหนักเพิ่มขึ้น คล้ายกับการมีข้อเสื่อมในคนสูงอายุทั่วไป
4.เกิดนิ่วของทางเดินปัสสาวะ เป็นต้น
การพยาบาล
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การงดน้ำ งดอาหาร เจาะเลือดบ่อยการถ่ายรังสี เป็นต้น
การดูแลภายหลังผ่าตัด
อาการของความดันภายในสมองสูง
อาการของภาวะแทรกซ้อน
สังเกตระดับความรู้สึกตัว
neurological signs,สัญญาณชีพ
พยาธิวิทยาและความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
การหลั่งฮอร์โมนน้อยเกินไป หรือไม่
เพียงพออาจเป็นผลจาก
2.ขาดฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
มากระตุ้น
3.อวัยวะเป้าหมายลดความไวใน
การตอบสนองต่อฮอร์โมนนั้นๆ
1.ต่อมทำหน้าที่ลดลง
อาการที่พบ
การเจริญเติบโตช้า,เหนื่อยง่าย,ความ
อยากอาหารเปลี่ยนแปลง
ปัสสาวะบ่อย,ปวดไต,ชัก,มีโรคของ
ข้อและกระดูก
การหลั่งฮอร์โมนมากเกินไปอาจเป็นผลมาจาก
2.มีการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้
สมองมากระตุ้นมากไป
3.อวัยวะที่เป็นเป้าหมายของฮอร์โมนมีความไวต่อฮอร์โมนอย่างผิดปกติ
1.ต่อมทำหน้าที่มากเกินไป มีขนาด
โตมากขึ้น
SYDROME OF INAPPROPRIATE ANTIDIURETIC
HORMONE SECRETION (SIADH)
สาเหตุของ SIADH
สาเหตุของSIADHมีหลายชนิด อาจะเป็นจากเนื้อ
งอกมะเร็ง หรือพวกที่ไม่ใช่มะเร็ง ระบบประสาทส่วนกลางผิดปกติ ยา และอื่นๆ
SIADH secretion ที่เกิดจากยา (SIADH
secretion secondary to drugs)
อาการของ SIADH
อาการของ SIADH จะพบว่าผู้ป่วยน้ําหนักตัวเพิ่ม
ขึ้น อ่อนเพลีย ซึม สับสนและถ้าเป็นมากอาจมีอาการชัก และถึงกับหมดสติได้เนื่องจากโซเดียมในเลือดต่ำ และมี water intoxication
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
พบว่า BUN, creatinine, serumalbumin ต่ำลง โซเดียมในซีรั่มต่ำกว่า130 meq/ ลิตร ออสโมลาลิตี้ของพลาสม่าต่ำกว่า275 mEq/ ลิตร
ยาที่ฤทธ์ิ ADH (potentiate
action of ADH)chlorpropamide
carbamazepine thiazidediuretic
การรักษา
ในรายที่อาการรุนรงเกิด water intoxication
มากคือผู้ป่วยมีอาการสับสนมาก ชัก หรือไม่รู้สึกตัวให้ 3% saline solution ทันที 200 - 300 มล.
รักษาสาเหตุที่ทําให้เกิด SIADH
ถ้าผู้รักษามีอาการไม่รุนแรงจํากัด
น้ําดื่ม 800-1000 มล. ต่อวัน
การรักษาด้วยยา ยังไม่มียาที่ใช้รักษา SIADH
ยากระตุ้นให้4มีการหลั่ง ADH
clofibrate(Atromid-S) nicotin
การพยาบาล
2.ชั่งน้ำหนักตัว
การสังเกตละประเมินระดับ
ความรู้สึกตัว พฤติกรรมและneurological status
ความสมดุลของน้ําร่างกาย ดูแล
เกี่ยวกับสายน้ําที่ร่างกายได้รับ
การร่วมมือกับแพทย์ในการ
วินิจฉัยโรคเตรียมผู้ป่วย
จํากัดน้ําและสารน้ําตาม
แผนการรักษาของแพทย์
ยาที่เพิ่มการดูด
ซึมน้ํากลับที่ไตvasopressinoxytocin
SIADH เป็นกลุ่มอาการที่เกิดเนื่องจากมีการหลั่ง
ADH ออกมามาก ไม่สัมพันธgกับออสโมลาลิตี้ในพลาสม่าตามปกติ ADH จะหลั่งออกมาเพื่อควบคุม
ให้ระดับออสโมลาลิตี้ในพลาสม่าลดลง จะมีกลไกย้อนนกลับไปยับยั้งไม่ให้มีการหลั่งADHออกมา
การพยาบาลผู้ป่วยโรคของไฮโปทาลามัสและ
ต่อมพิตูอิทารี(Hypothalamus&Pituitary)
สาเหตุที่ทำให้เกิด
3.หลอดเลือดเลี้ยงต่อมพิตูอิทารีผิดปกติ
4.การติดเชื้อ
2.ความผิดปกติแต่กำเนิดหรือมีการขาดฮอโมนชนิดหนึ่ง
5.Physical agent
1.เนื้องอก (Neoplasm)
6.อื่นๆ
เช่นโรคHistiocytosis เป็น nonneoplastic
histiocytic reaction
อาการและอาการแสดง
ขาดACTH ทำให้ต่อมหมวกไต ACTH กระตุ้นไปเกิดadrenal
insuffciency ผู้ป่วยอ่อนเพลีย น้ำตาลในเลือดต่ำ เบื่ออาหาร
ขาด gonadotropin hormone คือการขาด LH
และ FSH ทำให้เด็กเจริญเติบโตเข้าสู่pubertyช้า
การขาด growth hormone ถ้าเป็นก่อpuberty จะทำให้รูปร่างเตี้ยแคระdwarfism) น้ำตาลในเลือดมักจะต่ำ
ส่วนหน้าแบ่งด้วยเซลล์3ชนิด
3.Chromophobe cell เป็นเซลล์ที่ไม่ติดสีย้อม
4.ต่อมพิตูอิทารีส่วนกลาง หน้าที่ควบคุมสีผิว โดยไปกระตุ้นmelanocytescell ที่มีสาร
melanin pigment ออกมา
2.Basophil cell ย้อมติดสีน้ำเงินให้ฮอร์โมน TSH LH ICSH FSHACTH
1.Eosinophil ย้อมติดสีแดงจะให้ฮอร์โมน growth hormone และprolactin
การวินิจฉัยผู้ป่วย
1.การซักประวัติ อาการและการ
ตรวจร่างกาย
2.การวินิจฉัยโดยการใช้วิธีตรวจ
ทางห้องปฎิบัติการ
ตรวจภาพรังสีกะโหลกศรีษะดู
sella turcica ว่าขยายโตขึ้นหรือไม่
การย้อมเซลล์เยื่อบุช่องคลอด(vaginal smear) เพื่อดูว่าขาดฮอร์โมน estrogen หรือไม่
การตรวจดูระดับฮอร์โมนเพื่อจะ
ได้ทราบว่าขาดฮอร์โมนชนิดใด
การรักษา
2.การให้ฮอร์โมนทดแทน
3.ในรายที่เกิดจากสาเหตุอื่นๆ เช่นจาก เชื้อวัณโรค ก็ต้องได้รับการการป้องกันไม่ให้รักษาสาเหตุนั้นด้วย
1.การผ่าตัดและการให้รังสีการรักษาผู้ป่วยที่มีเนื้องอกในสมอง เช่นcraniopharyngioma
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพาราธัยรอยด์ฮอร์โมนน้อยเกิน
(Hypoparathyroidism)
อาการและอาการแสดง
อาการที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน
ประสาทและกลเามเนื้อผู้ป่วยจะรู้สึกเป็นเหน็บชา
หรือเป็นตะคริวที่มือและเท้านิ้วมือกระตุก ข้อมือ
จะงอมีการหดเกร็งของข้อต่าง ๆ
อาการที่เกิดขึ้นเรื้อรัง
ผู้ป่วยจะมีอาการเปลี่ยนแปลงช้า แต่จะทราบได้จากการตรวจร่างกาย พบมีอาการชโวสเด็ด (Chvosteck’s Sign) และอาการ
ทรูสโซ (Trousseau’s Sign) อาการอื่นๆ ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคือ ผมบาง และแตก ผิวหนังแห้งหยาบตกสะเก็ด
การประเมินภาวะสุขภาพ
การตรวจร่างกาย
การตรวจตาโดยส่องไฟ จะพบว่ามีแคลเซี่ยมไปเกาะในตาดทําให้ผู้ป่วยเกิดเป็นต้อกระจกตา มองเห็นไม่ชัด
การตรวจปากและฟันจะพบภายในปากมีการติดเชื้อโมนิไลอาลีส (Moniliasis)ที่กระพุงแก้มและลิ้นถ้าในเด็กจะพบฟันไม่เจริญ
การตรวจความไวของประสาทและกล้ามเนื้อ จะพบรีเฟล็กซ์ เท็นดอน
(Reflex Tendon) จะเร็วกว่าปกติ
ผิวหนัง พบว่าผิวหนังแห้งหยาบ ตกสะเก็ด ผมบาง มีการติดเชื้อที่เล็บและเล็บเปรา
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการตรวจพิเศษ
การเจาะเลือดหาค่าของพาราธัยรอยด์ฮอร์โมน
การตรวจปัสสาวะเพื่อหาแคลเซี่ยมในปัสสาวะในรอบ 24 ชั่วโมง
เจาะเลือดหาค่าฟอสเฟต
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
เจาะเลือดเพื่อดูจํานวนแคลเซี่ยม
การเอ็กซเรย์
ประวัติ
อาการที่เป็นเหตุนําให้ผู้ป่วยต้องมาพบแพทย์เช่นอาการชักระตุก อาการเป็นตะคริว อาการหายใจลําบากหอบหืด หัวใจเต้นผิดปกติรวมทั้งประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
สาเหตุ
เกิดจาการได้รับรังสีบริเวณคอ เช่นในรายที่เป็นเนื้องอกของต่อม
ธัยรอยด์ และรักษาด้วยการฉายรังสี
เกิดจากความผิดปกติของต;อมพาราธัยรอยด์
เกิดจากการขาดเลือดไปเลี้ยง ขณะทําผ่าตัดหรือภายหลังทําผ่าตัดต่อมพาราธัยรอยด์หรือต่อมธัยรอยด์ ทําให้เนื้อเยื่อต่อมตาย
เกิดจากความผิดปกติของต่อมพาราธัยรอยด์มาแต่กําเนิด คือ
เกิดจากการเจริญของต่อมไม่สมบูรณ์
เกิดจากต;อมพาราธัยรอยดgถูกตัดออก เนื่องจากการทําผ่าตัดต่อมพาราธัยรอยด์เองหรือเกิดจาก ผ่าตัดต่อมพาราธัยรอยด์แล้วพลาด ตัดเอาต่อมพาราธัยรอยด์ติดไป
การักษา
การใช้ยาจําพวกแคลเซี่ยมทางหลอดเลือดดําและให้โดยการรับประทานยาที่ให้ทางหลอดเลือดดํา
ได้แก่แคลเซี่ยม กลูโคเนต (Calcium Gluconate) 10 เปอร์เซ็นต์ยาที่ให้โดยการรับประทาน ได้แก่แคลเซี่ยม กลูโคเนต ประกอบด้วย แคลเซี่ยม ร้อยละ 9 แคลเซี่ยมเลคเตท
ให้วิตามินดีในรูปของวิตามินดี 2 หรือที่เรียกว่า Ergocalciferd จุดประสงค์เพื่อ
ช่วยดูดซึมแคลเซี่ยม ให้วันละ 25,000-100,000 ยูนิต โดยการรับประทาน
อาการแะอาการแสดง