Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหัวใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหัวใจ
โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac arrhythmia)
Bradyarrhythmias
Sinus node dysfunction
Arterioventricular conduction abnormality: AV block
Tachyarrhythmias
Wide QRS tachycardia
Narrow QRS tachycardia: QRS
duration < 120 ms
การคำนวณอัตราการเต้นของหัวใจจากคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ได้จากการนับจำนวนช่องเล็กหรือช่องใหญ่ของ P – P interval (Atrail rate) หรือ R-R interval (Ventricular rate) แล้วนำไปหาร 1,500 หรือ 300 ผลลัพธ์ที่ได้คือ อัตราการเต้นของหัวใจ
ขั้นตอนการวิเคราะห์ Electrocardiographic Rhythm
วิเคราะห์ P wave ทุกคลื่น เนื่องจาก P wave บ่งชี้ถึงการหดรัดตัวของหัวใจห้องบน
2.วิเคราะห์ QRS complex โดยดูรูปแบบที่ปรากฏ
3.วิเคราะห์จังหวะการเต้นของหัวใจห้องบนและห้องล่างจาก P-P และ R-R interval
คำนวณอัตราการเต้นของหัวใจ
วัดระยะห่างระหว่าง P wave และ R wave คือ PR interval
วัด QRS duration
แปลความหมายของคลื่นหัวใจ
การพยาบาลภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
วัดสัญญาณชีพทุก 1 – 2 ชั่วโมง
ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อน
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและสังเกตอาการข้างเคียงของยา
สอนผู้ป่วยเกี่ยวกับการใช้ยา อาการผิดปกติที่ต้องรีบรายงานให้แพทย์ทราบ
หากผู้ป่วยได้รับการรักษาแล้ว อาการหัวใจเต้นผิดปกติยังคงเป็นอยู่ ควรรายงานแพทย
ทำ CPR และดูแลผู้ป่วยเพื่อเตรียมทำ Defibrillation
การพยาบาลผู้ป่วยใส่เครื่องกระตุ้นจังหวะการเต้นหัวใจ
ให้การทำงานของเครื่องเป็นไปอย่างปกติและสามารถช่วยเหลือได้ทันทีหากเครื่องทำงานผิดปกต
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับความสะดวกสบายและผ่อนคลายก่อนและหลังใส่เครื่อง
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้อย่างปลอดภัยหากต้องใส่เครื่องอย่างถาวร
ให้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องกระตุ้นจังหวะการเต้นหัวใจ
โรคที่เกิดจากโครงสร้างของหัวใจผิดปกติ
ความผิดปกติที่เกิดจาการติดเชื้อ
4.Rheumatic fever
1.โรคลิ้นหัวใจอักเสบติดเชื้อ หรือ Infective endocarditis (IE)
อาการและอาการแสดง
1.มีไข้ไม่เกิน 1 เดือน โดยมักไม่มีอาการเฉพาะที่ ที่จะ
สงสัยตำแหน่งการติดเชื้อระบบใดระบบหนึ่ง
2.บางรายมีอาการนำจากภาวะแทรกซ้อนบริเวณที่ติดเชื้อหรือ
กระจายไปยังตำแหน่งอื่นๆ
3.บางรายมีอาการนำจากภาวะแทรกซ้อนบริเวณที่ติดเชื้อหรือ
กระจายไปยังตำแหน่งอื่นๆ
4.มีภาวะ septic embolization ไปยังอวัยวะอื่นๆ ได้แก่ ฝี หรือเลือดออก
การรักษา
การให้ยาต้านจุลชีพ
การรักษาด้วยการผ่าตัด คือ การผ่าตัด Left-side valve IE มีข้อบ่งชี้ได้แก่ การมีภาวะหัวใจวายการติดเชื้อที่ควบคุมไม่ได้
3.กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis)
เป็นการอักเสบที่กล้ามเนื้อหัวใจ ซึ่งเกิดได้ทั้งเฉียบพลัน และเรื้อรัง เป็นโรคที่มีผลกระทบต่อการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ มักเกิดภายหลังการติดเชื้อ
พยาธิสรีรภาพ
สาเหตุใดก็ตามที่ขัดขวางการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ จะทำให้ความสามารถในการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจทำงานไม่มีประสิทธิภาพ มีผลการให้จำนวนเลือดออกจากหัวใจลดลง
การประเมินสุขภาพ
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบไม่รุนแรง จะไม่มีอาการ แต่พบความผิดปกติของคลื่น T
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบรุนแรงอาการแสดงจะเป็นลักษณะของความผิดปกติเริ่มแรกที่เป็นสาเหตุ ได้แก่ อ่อนเพลีย ไข้ เม็ดเลือดขาวสูง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
การตรวจร่างกายจะพบความดันโลหิตต่ำ
อัตราการเต้นของหัวใจไม่ได้สัดส่วนกับอุณหภูมิที่สูงขึ้น
ฟังหัวใจได้เสียง “Gallop” และ Pericardial rub
5.เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (Pericarditis)
สาเหตุ
พยาธิสรีรภาพ
การอักเสบเยื่อหุ้มหัวใจเรื้อรังทำให้เกิดพังผืดอย่างมาก เยื่อหุ้มหัวใจจะหนามากขึ้นทำให้มีการบีบ
รัดหัวใจโดยเฉพาะเวลาหัวใจขยายตัว
Acute pericarditis กระบวนการอักเสบทำให้น้ำในช่องเยื่อหัวใจเพิ่มขึ้น ทำให้มีการอักเสบรอบๆ เนื้อเยื่อ มีไฟบรินและน้ำเกิดเฉพาะที่หรือทั่วๆ ไปทำให้เยื่อหุ้มหัวใจแข็ง หนา ขาดความ
ยืดหยุ่น หัวใจไม่สามารถขยายตัวได
ภาวะแทรกซ้อน
Pericardial effusion หรือเกิดการสะสมของน้ำในช่องว่างของเยื่อหุ้มหัวใจแล้วบีบรัดหัวใจทำให้หัวใจขยายตัวไม่ดี
อาการและอาการแสดง
อาการเจ็บหน้าอก (Precordial pain)
เสียงเสียดสีระหว่างเยื่อหุ้มหัวใจทั้งสองชั้น (Pericardial friction rub)
หายใจลำบาก (Dyspnea)
อาการระบบอื่น ๆ
มีไข้
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
เหงื่อออกและไอ
ปวดตามข้อ
น้ำหนักลด
การตรวจพิเศษอื่น ๆ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ถ่ายภาพรังสีทรวงอก
การเจาะน้ำจากช่องเยื่อหุ้ม หัวใจ(Pericardiocentesis)
การรักษา
ผู้ป่วยควรได้รับการรักษาในโรงพยาบาลเพื่อสังเกตอาการและภาวะแทรกซ้อน
การรักษาจะให้ยาแก้ปวด ยาลดไข้และยาปฏิชีวนะ ผู้ป่วยควรมีอาการเจ็บ
ปวดลดลงภายใน 48–96 ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่มีภาวะเยื่อหุ้มหัวใจบีบรัด แพทย์จะรักษาแบบผู้ป่วยภาวะหัวใจวาย
2.Cardiac tamponade
ปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยที่มีความผิดปกติที่เกิดจากการอักเสบและการติดเชื้อ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 1: เจ็บหน้าอกเนื่องจากเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบหรือติดเชื้อ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการเจ็บหน้าอกบ่อยครั้ง ตลอดจน สังเกตพฤติกรรมที่แสดงถึงการเจ็บและปัจจัยที่ ส่งเสริมให้มีการเจ็บมากขึ้น
ให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมได้บนเตียง
แนะนำให้ผู้ป่วยนั่งก้มตัวไปข้างหน้า จะช่วยบรรเทาอาการเจ็บหน้าอก
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจวัตรประจำวัน
ฟังเสียงหัวใจเพื่อค้นหา Pericardial friction rub อย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง ในระยะเฉียบพลัน
วัด Vital signs ทุก 4 ชั่วโมง
ติดตามผลการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ให้ยาแก้อักเสบ ตามแผนการรักษา
สอน แนะนำผู้ป่วยเกี่ยวกับการใช้ยาตามแผนการรักษา
10.จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในที่ที่มีอากาศถ่ายเทได้ด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 2: จำนวนเลือดออกจากหัวใจลดลงเนื่องจากความดันในช่องเยื่อหุ้มหัวใจเพิ่มขึ้น (Cardiac tamponade)
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินและตรวจสอบอาการผู้ป่วย เกี่ยวกับหายใจลำบาก เสียงหัวใจลด ลง ความดันโลหิตลดลง
ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
ดูแลการให้ยา Corticosteroid สารน้ำ เลือดทางหลอดเลือดดำ ตามแผนการ รักษา
กรณีผู้ป่วยมีอาการและอาการแสดงของ หัวใจถูกกด ปฏิบัติโดยจัดให้นอนศีรษะสูง เล็กน้อย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 3: จำนวนเลือดออกจากหัวใจลดลงเกี่ยวข้องกับกล้ามเนื้อหัวใจทำงานไม่มีประสิทธิภาพ (Myocarditis)
กิจกรรมการพยาบาล
จำกัดกิจกรรม โดยให้นอนพักบนเตียง (Bed rest) จนกระทั่งอาการดีขึ้น
ตรวจสอบสัญญาณชีพอย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง
ตรวจสอบคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างสม่ำเสมอ
ฟังเสียงหัวใจและฟังปอดอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
ให้ยาตามแนวการรักษาของแพทย์
สังเกตอาการและอาการแสดงของการไหลเวียนลดลง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 4: จำนวนเลือดออกจากหัวใจลดลงเกี่ยวข้องกับการติดเชื้อที่ลิ้นและเยื่อบุหัวใจ(Infective endocarditis)
กิจกรรมการพยาบาล
จำกัดกิจกรรม ให้นอนพักบนเตียง เพื่อลดการทำงานและความต้องการออกซิเจนของหัวใจ
ให้ยาต้านจุลชีพตามแผนการรักษา
วัดสัญญาณชีพ ฟังเสียงหัวใจทุก 4 ชั่วโมง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการอุดตัน
อธิบายและแนะนำเกี่ยวกับความจำเป็นและเหตุผลในการเจาะเลือด เพาะเชื้อบ่อย ๆ
สังเกตบริเวณที่แทงเข็มเกี่ยวกับการบวมแดง ร้อน เลือดออก
ให้อาหารโปรตีนสูง แคลอรีสูงเพื่อเป็นการส่งเสริมการหายของแผล
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการต่างๆ และการเจาะเลือดเพาะเชื้อ
บันทึกจำนวนน้ำที่ได้รับ และจำนวนปัสสาวะทุก 8 ชั่วโมง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 5: พร่องความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน เนื่องจากความเจ็บป่วยเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
กิจกรรมการพยาบาล
จำกัดกิจกรรม ขึ้นอยู่กับชนิด หรือประเภทของกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
ตรวจสอบ อาการและอาการแสดงที่อาจเกิดจากภาวะแทรกซ้อน จากการมีกิจกรรมลดลง
เปลี่ยนท่าผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง หรือแนะนำให้ผู้ป่วยพลิกตะแคงตัวบ่อย ๆ ครั้ง
การกระตุ้นผู้ป่วยหายใจเข้า–ออกลึกๆ ทุก 2–4 ชั่วโมง เพื่อให้ปอดขยายตัวมากขึ้น
5.ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจวัตรประจำวัน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 6: วิตกกังวลเนื่องจากไม่เข้าใจเกี่ยวกับความเจ็บป่วย อาการเจ็บหน้าอกการรักษา และการดูแลต่อไป
กิจกรรมการพยาบาล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกและปัญหาที่ก่อให้เกิดความวิตกกังวลและตอบปัญหาที่สงสัย
ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยบ่อยๆ ถ้าเป็นไปได้ทุก 10 นาที หรือ 2–3 ครั้งต่อเวร
ประเมินความเข้าใจและการรับรู้เกี่ยวกับ ความเจ็บป่วยของผู้ป่วยและญาติ สนับสนุนให้กำลังใจ
จัดโปรแกรมการสอนผู้ป่วยและญาติเป็นระยะๆ ก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล