Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างศักยภาพและ สมรรถภาพความเป็นครู, นางสาวเพ็ญศรี บุญนิธี…
การเสริมสร้างศักยภาพและ
สมรรถภาพความเป็นครู
หมายถึง การส่งเสริมพัฒนาครูให้แสดงความสามารถสูงสุดอันเป็นคุณสมบัติที่แฝงอยู่ในตัให้ปรากฎออกมาเป็นที่ประจักษ์แก่นักเรียนและต่อสังคม
การพัฒนาศักยภาพและสมรรถภาพ
ตนเอง
ของครู
วิธีการพัฒนาตนเองเพื่อก้าวสูความสำเร็จ
ทำตนให้เป็นที่น่าเชื่อถือ
รู้จักกาละเทศะ
ทำต้นให้เป็นที่ต้องใจของผู้อื่น
เชื่อมั่นในตนเอง
ทำงานรวดเร็ว
ขยันขันแข็ง
ตรงต่อเวลา
การแสดงออกของครู
มิติที่ ๒ การเพิ่มบทบาทของผู้เรียน
มิติที่ ๓ ผลที่้้เกิดกับผู้เรียน
มิติที่ ๑ ระดับฝีมือครู
คุณภาพระดับต่ำ
คุณภาพระดับสูง
คุณภาพระดับกลาง
**เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพในการปฏิบัติตนเพื่อพัฒนาตนเอง
มาตรฐานที่ ๑ ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพอยู่เสมอ
มาตรฐานที่ ๑๑ แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา
การพัฒนาศักยภาพและสมรรถภาพของครูโ
ดยสถานศึกษา
มีการยกระดับสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู็
จัดฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากร
ฝึกอบรมก่อนเข้าทำงาน
เรียนรู้งานโดยทำงานไปด้วย
ฝึกอบรมเพิ่มความชำนาญ
ส่งบุคลากรไปศึกษาดูงานภายนอกที่ทำงาน
การพัฒนาบุคลการสายผู้สอน
สนับสนุนให้ไปศึกษาต่อในระดับสูง ขึ้นตามความจำเป็นทั้งในท้องถิ่นและต่างประเทศ
การให้ทุนส่งเสริมการวิจัย
การส่งเสริมให้ไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน โดยการให้ทุน
ให้ไปปฏิบ้ติงานบริการทางวิชาการ
การแลกเปลี่ยนครูอาจารย์หรือนักวิชาการ
การส่งเสริมการเขียนตำรา การแปล หรือเรียบเรียงตำรา
การให้ทุนเพื่อเสนอผลงานทางวิชาการ การเข้าร่วมสัมนาทางวิชาการ
การสนับสนุนให้เป็นสมาชิกสังคมวิชาชีพและสถาบันทางวิชาการ
การสนับสนุนให้มีการลาปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มความรู้ทางวิชาการ
การพัฒนาศักษยภาพและสรรถภาพของ
ครูโดยหน่วยงานกลาง
แผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๗
ยุทธศาสตร์การดำเนินงานตามแผนการศึกษาแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ ๓: การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ยุทธศาสตร์ที่ ๑:การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาต
ยุทธศาสตร์ที่ ๔:การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ ๖: การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารการจัดการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ ๕: การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ ๒:การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตรกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเท
แนวคิดการจักการศึกษา
หลักของการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs 2030)
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและทั่วถึง
หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน
เป้าหมาย
2.เป้าหมายของการจัดการศึกษา โดยมีตัวช่ี้วัดที่สำคํญดังนี้
1.ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและทั่วถึง
2.ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการการศึกาาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน อย่างเท่าเทียม
3.ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถ เต็มตามศักยภาพ
4.ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษาที่คุ้มค่า และบรรลุเป้าหมาย
5.ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวหน้าทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวัติและบริบทที่เปลี่ยนแปลง
1.เป้าหมายด้านผู้เรียน-คุณลักษณะและทักษะการเรียนรู็ในศตวรรธที่21(3Rs8Cs)
3Rs-Reading, Writing, Arithmetics
8Cs
1.Critical Thinking and Problem Solving skills
2.Creativity and Innovation
3.Cross-cultural Understanding
4.Collaboration Teamwork and Leadership
5.Communications, Information and Media Literacy
6.Career and Learning Skills
7.Computing and ICT
8.Compassion
วิศัยทัศน์ และจุดมุ่งหมาย
"คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอยา่งมีคุณภาพ
ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข สอดคล้องกับปรํชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรธที่ 21"
ครุสภา
บทบาทและหน้าที่ของครุสภา
สร้างมาตรฐานทางจรรยาบรรณวิชาชีพครู
ส่งเสริมให้สมาชิครูมีความก้าวหน้าและทันสมัยทางวิชากร
ส่งเสริมสวัสดิการแลบริการ
ควบคุมมาตรฐานวิชาชีพ
เป็นองค์กรอิสระ มีอำนาจ ปฏิบัติงานรวดเร็ว
วิจัยและวางแผนเพื่อพัฒนาองค์กรวิชาชีพครู
ประสานงานระหว่างสมาคมที่เกี่ยวข้องทางวิชาชีพครูอื่นๆ
นางสาวเพ็ญศรี บุญนิธี 63741115