Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินการเจริญเติบโตและพัฒนาการ - Coggle Diagram
การประเมินการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
การส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามยุทธศาสตร์ชาติ
แนวโน้มของปัญหาเด็กและครอบครัว และโอกาสพัฒนา
เด็กที่ต้องอาศัยอยู่กับพ่อหรือแม่เพียงคนเดียวหรืออาศัยอยู่กับคนอื่น
เด็กไทย 1 ใน 4 เป็นโรคเด็กและเยาวชนไทยมีเพศสัมพันธุ์ครั้งแรกอายุน้อยลง
แนวโน้มการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่นสูงขึ้น
การเลี้ยงลูกด้วยน้้านมแม่อย่างเดียว 3 เดือนในระดับต่้า มาก
แนวโน้มใช้ความ รุนแรงเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 10
กระท้าผิดทางกฎหมายมีอายุน้อยลง
กลุ่มเด็กที่ต้องการการดูแลพิเศษ
นโยบายการพัฒนาเด็ก
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2560-2579) ให้เด็กมีทักษะ พัฒนาการสมวัย แข็งแรง EQ สูง แก้ปัญหาเป็นวินัยดี มีคุณธรรม
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู
พัฒนาประเทศไทย 4.0 มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
แผนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ปี 2560-2564เสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกช่วงวัย
การประเมินการเจริญเติบโตเด็ก
คำนวณน้ำหนัก
อายุ 3-12 เดือน = (อายุ(เดือน)+9) /2
อายุ1-6 ปี = (อายุ(ปี ) X 2) + 8
อายุ 7-12 ปี = (อายุ(ปี ) X 7-5) / 2
ประเมินภาวะโภชนาการ
Weight for age (% ) =(น้ำหนักจริง x 100)/น้ำ หนักตามอายุจริงที่ P 50
Height for age (% ) =(ส่วนสูงจริง x 100) / ส่วนสูงตามอายุจริงที่ P 50
Weight for Height (% ) =(น้ำหนักจริง x 100) / น้ำหนักที่ P 50 ของส่วนสูงตามอายุที่ควรเป็น
ความยาวหรือความสูง
อายุน้อยกว่า 2 ปี วัดในท่านอน (recumbent position)
อายุมากกว่า 2 ปี วัดท่ายืนตรงหันหลัง ชนิดอุปกรณ์การวัด
อายุ 2-12 ปี = (อายุ(ปี ) X 6) +77
เส้นรอบอก
เด็กแรกเกิดศีรษะจะโตกว่าลำตัว
อายุ 1 ปี เส้นรอบวงศีรษะจะเท่ากับเส้นรอบอก
อายุมากกว่า 1 ปี เส้นรอบอกจะใหญ่กว่าเส้นรอบศีรษะ
หลักการประเมินสุขภาพเด็ก และวัยรุ่น
การซักประวัติ / การตรวจร่างกาย
เข้าถึงอย่างเหมาะสม
ความชานาญในการหาข้อมูล
ตรวจร่างกายอย่างละเอียดถี่ถ้วน
ตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เหมาะสม
วินิจฉัยโรคอย่างถูกต้อง
ลักษณะท่าที่ของผู้ของผู้ซักประวัติและตรวจร่างกาย
สนใจและความเอาใจใส่ผู้ป่วยและญาติ
เข้าใจ เห็นใจ และเป็นกันเอง
การปฏิบัติตัวต่อผู้ป่วยเด็ก
ทารกแรกเกิดถึง6 เดือน ไม่แสดงกิริยาขัดขืน
เด็กอายุ 6 เดือนถึง 2 ปี กลัวคนแปลกหน้า
เด็กในวัยก่อนเรียน กลัวแพทย์และเครื่องมือ
เด็กวัยเรียนมีเหตุผล
วันรุ่นรู้สึกอายต่อเพศตรงข้าม
การตรวจร่างกายเด็ก
ท่าทีและการปฏิบัติ
วิธีการจับเด็ก
ขั้นตอนการตรวจไม่เป็นระบบเหมือนผู้ใหญ่
การตรวจเฉพาะที่
การเจริญเติบโต
การประเมินพัฒนาการของเด็ก
เคลื่อนไหว
กล้ามเนื้อมัดเล็ก และสติปัญญา
เข้าใจภาษา
ใช้ภาษา
ช่วยเหลือตัวเองและสังคม
การเจริญเติบโตในวัยรุ่น
เด็กหญิง เริ่มที่อายุประมาณประมาณ 11.5 ปี และจะค่อยๆลดลงจนอายุ 16 ปี
เด็กชาย เติบโตมาก เมื่ออายุประมาณ 13.5 ปี และหยุดเมื่ออายุ 18 ปี
พัฒนาการ
เป็นไปตามแบบฉบับของมันเอง
ความสามารถที่ต่างกัน
ส่วนต่างๆของร่างกายจะแตกต่างกัน
เปลี่ยนแปลงตามลำดับต่อเนื่องโดยไม่ข้ามขั้นตอน
อิทธิพลต่อพัฒนาการ
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม ขณะในครรภ์และภายหลังเกิด
การส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
เด็ก2 ปี
แรกเกิด-1 เดือนเปลี่ยนท่านอนให้เด็กบ่อยๆของเล่นสีสดใสระยะห่าง 8 นิ้ว โดยเอียงศีรษะซ้าย-ขวาช้า ๆให้เด็กมองตาม พูดคุยร้องเพลงเบาๆ
2 เดือน เปลยี่ นท่านอนให้หลายๆ ท่า เช่น ตะแคง คว่ำ ให้เล่นของเล่นที่กำ พูดคุยกับเด็กเสมอ สาเหตุที่เด็กร้อง และตอบสนองความต้องการ
3-4 เดือน ส่งของเล่นให้เด็กหัดกำ และคว้าพูดคุยกับเด็ก อุ้มกอดแสดงความรัก
5-6 เดือน วางของเล่นเพื่อให้เด็กดันตัวหรือพลิกตัวไปหยิบ หัดให้เด็กจับขวดนมดื่มเอง หยอกล้อ พูดคุยกับเด็กด้วยคำง่ายๆให้เด็กเลียนเสียงตาม เช่น หม่ำ-หม่ำ จ๋า-จ้ะ อุ้มกอดแสดงความรัก
7-9 เดือน วางของเล่นห่างจากตัวเด็กแล้วกระตุ้นให้คลานไปหยิบพาไปพบปะคนอื่นที่ไม่ใช่สมาชิกในบ้าน ให้เด็กถือขนมปังรับประทานเอง ควรเป็ นชนิดที่ละลายในปาก
10-12 เดือน ใช้ของเล่นล่อเพื่อให้เดก็ ก้าวเดิน จูงเด็กเดินบ่อยๆ ให้เด็กดูภาพ เรียกชื่อให้เด็กฟัง เรียกชื่อเด็ก พูดคุยและร้องเพลงให้ฟังบ่อยๆ ให้เด็กได้จับดินสอสี และขีดเขียนบนกระดาษ
13-15 เดือน ให้เล่นของเล่นที่มีล้อลากจูงได้ ให้เด็กเล่นต่อก้อนไม้เป็นชั้นๆ ให้เด็กตักอาหารรับประทานเอง ชี้บอกอวัยวะให้เด็กพูดตาม ให้เล่นโยนบอล
7-16-18 เดือน เหมือน 15 เดือน เพิ่มการปีนป่าย ให้เล่นบล็อคเรขาคณิต
19-24 เดือน เล่นเตะฟุตบอล ปีนป่าย เปิดโอกาสให้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตัวเอง
เด็กวัยก่อนเรียน (2-6 ปี )
ด้านการเคลื่อนไหว เปิ ดโอกาสให้เด็กได้วิ่ง กระโดด ปีนป่าย ขี่จักรยาน 3 ล้อ
ด้านสังคมและการช่วยเหลือตนเอง ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตัวเอง สนับสนุนให้เล่นกับเพื่อน
ด้านสติปัญญาและภาษา พูดคุยกับเด็ก สอนให้เด็ก รู้จักสิ่งต่าง ๆ ฝึกให้สังเกต เปรียบเทียบ
ด้านจริยธรรม สอนและตักเตือนเมื่อทำในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
เด็กวัยเรียน (7-12 ปี )
ด้านการเคลื่อนไหว ออกกำลังกาย และเล่นกีฬาประเภทต่าง ๆ วาดรูปทำงานศิลปะ
ด้านสังคมและการช่วยเหลือตนเอง มอบหมายให้เด็กได้รับผิดชอบกิจกรรมภายในบ้านตามสมควร
ด้านสติปัญญาและจริยธรรม ให้เล่นเกมที่มีระเบียบซับซ้อน ให้อ่านหนังสือ สร้างความคิสร้างสรรค์
เด็กวัยเรียน (12-18 ปี )
ด้านร่างกาย ให้คำแนะนำเรื่องการดูแลเพื่อลดความกังวลให้ความรู้ทางเพศสัมพันธ์
ด้านสังคม ยอมรับพัฒนาการตามวัยของเด็ก ไม่เปรียบเทียบความด้อย ความเด่นกับผู้อื่น เป็นอิสระเป็นตัวของตัวเอง
ด้านสติปัญญาและจริยธรรมคดิ แก้ปัญหาด้วยตนเอง ส่งเสริมความสามารถ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ส่งเสริมให้มีการปรับตัวที่เหมาะสม เป็ นตัวอย่างที่ด
การเล่นของเด็กวัยต่างๆ
วัยทารก
4 เดือนขึ้นไป ฝึกไขว่คว้าจับต้อง และหัดถือ
7-9 เดือน เพิ่มเรื่องการพูดคุยกับเด็ก เล่นเกมของหาย
8-12 เดือน ของเล่นควรเป็นประเภทผลักดันหรือโยน หรือกระดาษให้ขยำเล่น
วัยเตาะแตะ
เสริมทักษะการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อมัดใหญ่
และมัดเล็ก และพัฒนาการทางสังคม
วัยก่อนเรียน อายุ 3 ปีขึ้นไป
การเล่นที่หลากหลาย เล่านิทานคลายกังวล
วัยเรียน
เด็กเริ่มมีความสามารถทางกายเพิ่มขึ้น เข้าใจบทบาทหน้าที่
วัยรุ่น
เป็นเพศตรงข้าม สนใจการมีนัด การสังสรรค์ และการเต้นรำ
เด็กที่มีปัญหาเจริญเติบโตหรือพัฒนาการ
3 เดือน ลุกไม่สบตา ยิ้มไม่ตอบชูคอในท่านอน
6 เดือนแล้วไม่มองตาม ไม่หันตามเสียง ไม่สนใจ ไม่พลิกคว่ำพลิกหงาย
1 ปี ยังไม่เกาะเดิน ไม่สามารถใช้นิ้วมือหยิบของกินเข้าปากไม่เลียนแบบท่าทางและเสียง
1 ปี 6 เดือน แล้วไม่สามารถทำตามคำสั่งง่ายๆได้
2 ปียังไม่พูดคำต่อกัน
พัฒนาการล่าช้ากว่าวัย น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เจ็บป่วยบ่อยๆ
บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
มีความรู้ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการ
เรียนรู้วิธีการคัดกรองวิธีการพัฒนาการของเด็ก
ตระหนักว่าเด็ก ทุกเพศต้องการการส่งเสริมพัฒนาการ
มีความรู้ ในเรื่องการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก แต่ละวัย
ให้คำแนะนำในการส่งเสริมพัฒนาการ