Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาหลัง คลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาหลัง
คลอด
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะไม่สุขสบาย
การเจ็บแผลฝีเย็บ
การพยาบาล
อธิบายให้ทราบว่าอาการแผลฝีเย็บ
จะเกิดหลังคลอดประมาณ 7 วันและแผลจะหายสนิทในภายใน 3 สปดาห์
ใช้ผ้าอนามัยเย็นประคบที่แผลฝีเย็บเพื่อบรรเทาปวด
ดูแลให้ยาพาราเซตามอลเพื่อบรรเทาปวด
แนะนำและกระตุ้นบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
ริดสีดวงทวาร
การพยาบาล
รับประทานอาหารท่มีกากใย ผัก ผลไม้
หลีกเลี่ยงการเบ่งอุจจาระและการนั่งนานๆ
ดื่มน้ำให้มากๆ ป้องกันอาการท้องผูก
แช่ก้นในน้ำอุ่นเพื่อบรรเทาอาการปวด
แนะนำให้นอนตะแคง
การปวดมดลูก
การพยาบาล
อธิบายว่าเป็นเรือ่งปกติช่วยป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
แนะนำให้นอนคว่ำเพื่อระบายน้ำคาวปลาแฃะช่วยบรรเทาปวด
ดูแลให้ยาพาราเซตามอล เพื่อบรรเทาอาการปวด ก่อนให้นมบุตร
อาการท้องผูก
การพยาบาล
กระตุ้นให้เคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็ว
กระตุ้นการไหลเวียนเลือด
ส่งเสริมการทำงานของกระเพาะปัสสาวะและลำไส้
การมีไข้ในมารดาหลังคลอด
การพยาบาล
ดูแลให้ยาพาราเซตามอลเพื่อลดไข้
เช็ดตัวลดไข้ เพื่อความสุขสบาย
ให้สารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ปัสสาวะลำบาก
การพยาบาล
กระตุ้นความอยากปัสสาวะ โดยการเอาน้ำราดบริเวณ symphysis pubis
ถ้าปัสสาวะไม่ออกใน 6-8 ชั่วโมงหลังคลอด ให้ทำ intermittent cath
รับประทานน้ำให้มากขึ้น ถ้ายังแสบขัดต้องรายงานแพทย์
การให้คำแนะนำมารดา
การดูแลทารกและให้นมบุตร
การอุ้มทารก
ท่าอุ้มขวางตักประยุกต์
ท่าอุ้มฟุตบอล
ท่านี้เหมาะกับมารดาที่มีหัวนมสั้น ใหญ่ ยาวมารดาที่ผ่าคลอดทางหน้าท้องมารดาที่คลอดบุตรแฝด
ท่าอุ้มขวางตัก
เป็นท่าอุ้มที่ใช้กันมากที่สุด
ท่านอนให้นม
การบีบน้ำนมจากเต้าด้วยมือ
กด
บีบ
คลาย
การให้นมบุตร
ให้บุตรดูดนมมารดาทุก 2 ชั่วโมงไม่ต้องให้น้ำตาม
ภายหลังการให้นมต้องอุ้มเรอทุกครัง
การนำน้ำนมที่บีบมาเก็บไว้ใช้
นำนมที่แช่แข็ง มาไว้ในช่องธรรมดา 1 คืน เพื่อให้ละลายตัว
วางนมมารดาไว้นอกตู้เย็น หรือแช่นมมารดากับน้ำอุ่นเท่านั้น
ห้ามใช้ไมโครเวฟละลายน้ำนมแม่ เพราะจะทำให้สูญเสียสารอาหาร
ควรทานนมมารดาที่นำออกมาละลายแล้วให้หมด
ไม่ทิ้งนมไว้ในอุณหภูมิห้องนานเกิน 1 ชั่วโมง
การดูแลทารก
สะดือจะหลุดภายใน 7-14 วัน ดูแลให้สะดือแห้งเสมอ
เมื่อสะดือใกล้หลุดจะมีเลือดออก ห้ามใช้แป้งและยาโรยสะดือ
การถ่ายอุจาระ ทารกที่กินนมมารดาจะถ่ายบ่อย มีสีเหลืองจะมีเม็ดเล็กๆคล้ายเม็ดมะเขือ
อาการผิดปกติที่ควรมาโรงพยาบาลการมาตรวจตามนัด
ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ตาพร่ามัว จุกเสียดหน้าอก ชัก
ปัสสาวะบ่อยและแสบขัด
บริเวณแผลมีอาการบวมแดง
อักเสบหรือเจ็บแผลมากกว่าปกติ
ปวดท้องมาก
มีไข้หนาวสั่นโดยไม่มีสาเหตุ
น้ำคาวปลามีสีแดงเข้ม ปริมาณไม่ลดลงหรือมีกลิ่นเหม็น
เต้านมปวด บวม แดง มีเลือดหรือหนองไหลออกทางหัวนม
การส่งเสริมสุขภาพ
มารดาหลังคลอด
การดูแลตัวเองหังคลอด
การบริหารร่างกายหลังคลอด
นั่งเอ็นหลังเล็กน้อย
ท่านี้ช่วยบริหารหน้าท้องและฝึกการหายใจ
นอนหงายชันเข่า
ท่านี้ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
หน้าท้อง หน้าอก และอุ้งเชิงกราน
นอนหงาย
ท่านี้ช่วยลดอาการบวมบริเวณขาและเท้า
นอนคว่ำ
ท่านี้ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วและน้ำคาวปลาไหลสะดวก
การรักษาความสะอาดร่างกาย
สามารถอาบน้ำสระผมได้ตามปกติ
สิ่งที่ควรระวังคือการอาบน้านานเกิน
เพราะจะทำให้ร่างกายเจ็บป็วยได้ง่าย
การพักผ่อน
ในช่วง 2สัปดาห์แรกคุณแม่ยังคงอ่อนเพลียจากการสูญเสียเลือดควรหาเวลาพักผ่อนอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
การมีเพศสัมพันธ์
สามารถทำได้ตั้งแต่ประมาณ 5-6 สัปดาห์หลังคลอด
การรับประทานอาหาร
ภายหลังคลอดบุตรควรรับประทานอาหารให้ครบ5 หมู่ ช่วยเสริมสร้างร่างกายและมีสารอาหารเพียงพอที่จะสร้างน้ำนม
อาหารที่ควรเลี่ยง เช่น แอลกอฮอร์ ชา กาแฟ
การขับถ่าย
อุจจาระ
ใน 24ชั่ว โมงหลังคลอดมารดาอาจไม่รู้สึกอยากถ่ายอุจจาระเนืองจากผลการงดน้ำ งดอาหาร
ปัสสาวะ
ตามปกติมารดาหลังคลอดควรปัสสาวะได้เองใน 6-8
ชั่วโมง
การดูความสะอาดร่างกายและการป้องกันการติดเชื้อ