Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิด บทที่8 - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิด บทที่8
การประเมินสุขภาพทารกแรกเกิด
การตรวจร่างกายตามระบบ
ระบบหายใจ
ทารกในครรภ์มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ผ่านรก
การเริ่มหายใจครั้งแรกของทารก
การกระตุ้นภายใน
กระตุ้นด้วยสารเคมี
กระตุ้นภายนอก
กลไกการบีบรัด
อุณหภูมิ
การกระตุ้นประสาทรับความรู้สึก
ระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด
ทารกมีการปรับระบบการไหลเวียนเลือดเหมือนผู้ใหญ่ใน 24-48 ชม.หลังคลอด
ทารกในครรภ์การไหลเวียนเลือดผ่านรก
ทารกคลอดออกมาการไหลเวียนเลือดเริ่มต้นเมื่อหายใจเข้าครั้งแรก
ระบบควบคุมอุณหภูมิของทารก
ทารกในครรภ์อุณหภูมิสูงกว่ามารดา0.3-105 องศสเซลเซียล
ปัจจัย
อายุครรภ์
ความสมบูรณืของร่างกาย
ความเจ็บป่วย
แหล่งผลืตความร้อนที่สำคัญ
ตับ
หัวใจ
สมอง
ไขมันสีน้ำตาล
ระบบเลือด
ไขกระดูกทำหน้าที่สร้างเม็ดเลือด
ปริมาณของเลือดทั้งหมด80-85ml.ต่อน้ำหนักตัว 1kg.เฉลี่ย[300ml.
หากตัดสายสะดือช้าออกไป 2 นาทีทารกจะได้รับเลือดเพิ่มขึ้น 50-125ml.
การตรวจร่างกาย
ลักษณะทั่วไป สีของผิวหนัง ซีด มีจ้ำเลือด ผิวหนังลาย ปลายมือปลายเท้าเขียว
ศีรษะ
กระดูกศีรษะเกยซ้อนกัน
มีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มกระโหลกศีรษะ
ศีรษะเล็กกว่าปกติ
ใบหน้า
การเคลื่อนไหวของใบหน้าสมมาตรกัน
ตา
เลนส์ตาใส เยื่อบุตาขาวสะอาด
เลนส์ตาขุ่นมีภาวะต้อกระจก ไม่มีลูกตา หางตาชี้ขึ้น
Ddwn's syndrome
รูม่านตากลม ตอบสนองต่อแสง เท่ากันทั้ง2ข้าง
จมูก
จมูกสมมาตรกัน
รูจมูกมีขนากเท่ากัน มีseptumกั้นกลาง
ทารกใช้จมูกหานใจด้วยจมูกข้างเดียว
ปาก
มุมปากอยู่ในระดับเดียวกัน
ตรวจดูว่ามีลิ้นติด
ภาวะเพดานโหว่
ภาวะปากแหว่ง
Swallow&suction erflex
หู
ใบหูพับ
ขนาดเล็กผิดปกติ
มีติ่งเนื้องอกข้างหู
ใบหูอยู่ในระดับเดียวกันกับหางตา
ทรวงอก
เสียงการหายใจเท่ากันทั้ง2ข้าง
อกบุ๋มหรืออกนูน
หัวนมมากกว่าปกติ
เสียงการหายใจลดลงอาจเกิดถุงลมแฟบ หรือน้ำท่วมปอด
หน้าท้อง
การปิดของผนังหน้าท้อง
คลำพบตับ ม้าม และไตได้
ไม่มีภาวะผนังหน้าท้องปกคลุม
สะดือโป่งนูน
ลำไส้ออกมาอยู่หน้าช่องท้อง
แขนขา
งอ เหยียด กำลังของกล้ามเนื้อ
ลักษณะนิ้วมือ นิ้มเท้า ลายเส้นฝ่ามือ ฝ่าเท้า
จำนวน
หลัง
ดูและคลำกระดูกสันหลังตั้งแต่กระดูกต้นคอไปถึงกระดูกก้นกบ
ดูความโค้งงอ กระดูกผิดรูป หารูเปิดหรือก้อนโป่งนูน
ไขสันหลังไม่เชื่อมกัน มีถุงยื่นออกมา
ทวารหนัก
ดูรูเปิด
สังเกตการถ่ายขี้เทาภายใน24 ชม.หลังคลอด
อวัยวะเพศชาย
มีรูเปิดของท่อปัสสาวะอยู่ด้านบนองคชาติ
ขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง
อวัยวะเพศหญิง
การชิดติดกันของ labai
ขนาดรูปร่างของ clitoris
สิ่งคัดหลั่งจากช่องคลอดปละการขับถ่ายปัสสาวะ
การประเมินและการดูแลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติเล็กน้อย
เท้าปุก
เท้าปุกแท้้(congenital clubfoot)
เท้าเล็กกว่าปกติ เท้าบิดเข้าข้างใน
ลักษณะยึดติดแข็ง พบรอยลึกของผิวหนังด้านในฝ่ าเท้าและด้านหลัง
เท้าปุกชนิดเหิดร่ามกับโรคอื่น(syndrome or teratologic clubfoot)
เท้าปุกติดแข็ง การตัดหรือใส่เฝือก ไม่ค่อยได้ผลมักกลับมาเป็นซ้ำ
เท้าปกเทียม(postural clubfoot)
เท้าบิดตั้งแต่อยู่ในครรภ์ พบได้บ่อยในภาวะน้ำคล่ำน้อย
การดูแลรักษา
ให้เท้าใช้เดินได้ให้ใกล้เคียงกับเท้าปกติมากที่สุด
การตัดหรือใส่เฝือกจะได้ผลดีในช่วงอ 6 เดือนแรก
ผ่าตัดและใส่รองเท้าประคองเท้า เพื่อไใ่ให้กลับมาเป็นซ้ำ
ภาวะลิ้นติด(tongue tie or
ankyloglossia)
เนื้อเยื่อใต้ลิ้นติดกับพื้นล่างของช่องปาก
ลักษณะ หนา ตึงและสั้น การเคลื่อนไหวของลิ้นถถูกจำกัด
ภาวะขี้เทาอุดตัน(meconium impact)
ขี้เทาอัดแน่นบริเวณส่วนปลายลำไส้ส่วนปลาย หรือ ทวารหนัก
ลำไส้ทำงานไม่ดี ถ่านขี้เทาช้า ถ่านน้อย สีซีด หรือไม่ถ่ายขี้เทา
มักเกิดจากลำไส้อุดตัน
ภาวะย่อยน้ำตาลแลคโทสบกพร่อง/ภาวะไม่ทนต่อน้ำตาลแลคโทส
ร่างกายไม่สามารถย่อยน้ำตาลแลคโทสได้สมบูรณ์ ภายหลังได้รับนม 30 นาที ถึง2ชม.
กลุ่มอาการ (Down syndrome) โครโมโซมคู่ที่21
ผิดปกติทั้งร่างกายและจิตใจ
ศีรษะเล็กแบนกว้าง ท้ายทอยสั้น ใบหน้ากลม ตาห่าง หางตาเฉียว จมูกเล็ก
โรคหัวใจพิการแต่ก าเนิด ต้อกระจก ต้อหิน โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว ปัญญาอ่อน
ภาวะท่อน้ำตาอุดตัน(dacryostenosis or nasolacrimal duct obstruction)
มีพังผืดบางๆกั้นอยู่ปกติพังผืดจะลอกออกได้เองในช่วงครบกำหนดคลอดจนถึง 2-3 เดือนหลังคลอด
ภาวะตัวเหลือง :(neonatal hyperbilirubinemia/jaundice)
จากมารดามีน้ำนมน้อยทารกดูดนมไม่ถูกวิธี
เนื่องจากในนมมารดามีสารบางชนิดเปลี่ยนให้เป็ นunconjugatedbilirubin และถูกดูดซึมกลับเข้ากระแสเลือด
การพยาบาลทารกแรกเกิด
การดูแลทารกแรกเกิดประจำวันและกสนใก้วัคซีน
ตรวจดูความผิดปกติที่สามารถมองเห็นได้ใช้วิธี ดู คลำตั้งแต่หัวจรดเท้า
การให้ความอบอุ่น
ดูแล BT=36.5-37.5 องศาเซลเซียล
วัดอุณหภูมิให้ตรงเวลา
วัดอุณหภูมิหลังคลอดให้วัดทางรักแร้ (เมื่อครั้งแรกวัดทางทวารหนักเรียบร้อยกล้ว)
การดูแลทารกได้รับนมอย่างเพียงพอ
ให้ทารกเข้าเต้าอย่างถูกวิธี ดูดอย่างถูกวิธี ดูดบ่อย
สังเกตอาการสำลอกนม
สังเกตการสะอึก
การอุ้มรอให้อุ้มท่านั่งหรือท่าพาดบ่านาน5-10นาที
การชั่งน้ำหนักทารก
ชั่งน้ำหนักทารกทุกวันขณะอยู่ที่โรงพยาบาล
ทารก2-3วันหลังคลอดอาจมีน้ำนักลดลงได้
จะเพิ่มขึ้นเท่ากับแรกเกิดในวันที่7-10หลังคลอด
การอาบน้ำทารก
อาบน้ำและสระผมด้วยน้ำอุ่นพอดี
ใช่สบู่เด็กเช็ดหน้าด้วยน้ำสะอาด
การทำความสะอาดสะดือ
สะดือจะหลุดภายใน7-14วัน
ทำความสะอาดโดยใช้สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
สังเกตอาการผิดปกติที่แสดงว่าสายสะดือมีการติดเชื้อ
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
เพศหญิง
อาจมีเลือดออกทางช่องคลอดเรียกว่า ประจำเดือนเทียม
เพศชาย
ล้างด้วน้ำสะอาดอาจมีเมือกสีขาวเหนียวให้เช็ดเบาๆ
การให้ภูมิคุ้มกันโรค (Immuniztion)ทารกแรกเกิด
BCG
HBV
[บางรายอาจจะปวด หรือบวมบริเวณที่ฉีด อาจมีไข้ต่ำๆ
การป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกาย
ทารกต้องได้รับการเช็ดตัวให้แห้งทันที สวมหมวกแล้วคลุมด้วยผ้าหุ่ม เพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อน หรือ skin to skin