Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการ - Coggle Diagram
การประเมินการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการ
สัญญาณเตือนว่าเด็ก 1 ปีมีพัฒนาการผิดปกติ
กระสับกระส่าย ไม่อยู่เฉย
ไม่ตอบสนองต่อผู้เลี้ยงดู เวลาป้อนอาหารไม่อ้าปาก ไม่เข้าใจเสียงห้าม
ไม่ส่งเสียงโต่ตอบ ไม่เลียนเสียงพูดเเละท่าทาง
ไม่ลุกนั่ง ไม่คลาน
การประเมินภาวะโภชนาการ
Weight fpr age (%) = (นํ้าหนักจริงx100)/นํ้าหนักตามอายุจริงที่ P 50
จากโจทย์เด็กนํ้าหนัก = 7 กิโลกรัม จะได้ค่า Weight fpr age (%) = (7x100)/12 = 58.33 เมื่อนำมาเทียบกับตารางเด็กจะอยู่ในภาวะ SEVERE
ความต้องการสารอาหารของเด็ก 1 ปี
โปรตีน เด็กวัยนี้ควรได้รับโปรตีนวันละ 20-25 กรัม หรือประมาณ 1.8 กรัมต่อกิโลกรัมน้ำ
หนักตัว
แร่ธาตุต่าง ๆ แร่ธาตุที่เด็กวัยก่อนเรียนจำเป็นต้องได้รับ ได้แก่ แคลเซียม และฟอสฟอรัส สำหรับสร้างกระดูกและฟัน ควรได้รับเหล็กวันละ 10-18 มิลลิกรัม
อาหารที่ให้พลังงาน เด็กช่วงอายุ 1-3 ปี ควรได้พลังงานวันละ 1,300 กิโลแคลอรี หรือ
ประมาณ 100 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัว ซึ่งได้จากข้าว แป้ง น้ำตาล และไขมัน
วิตามินต่าง ๆ วิตามินที่สำคัญสำหรับเด็กในวัยนี้ ได้แก่ วิตามินเอ วิตามินดี วิตามินซี และวิตามินบีรวม แหล่งของวิตามินต่าง ๆ ในอาหาร ได้แก่ ผลไม้สด เช่น กล้วยน้ำว้า มะละกอสุก ส้ม ฝรั่ง และมะเขือเทศสุก
อาหารเด็ก 1 ปี ในหนึ่งวันกินอะไรบ้าง
ข้าวสวย 6 ช้อนโต๊ะ (หรือ1ทัพพี)
ไข่สุก ½ ฟอง
เนื้อสัตว์หรือตับบด 1 ช้อนโต๊ะ
ผักสุก 1 ทัพพี
น้ำมัน 1 ช้อนชา
ผลไม้สุกนิ่ม 3-4 ชิ้น
Height for age (%) = (ส่วนสูงจริงx100)/ส่วนสูงตามอายุจริงที่P 50
Weight for Height (%) = (นํ้าหนักจริงx100)/นํ้าหนักที่ P50 ของส่วนสูงตามอายุที่ควรเป็น
ขนาดรอบศีรษะ
6 เดือน ขนาดศีรษะเท่ากับรอบอกของทารก
อายุ 1 ปี ขนาดรอบศีรษะจะขยายขึ้นประมาณ 45 เซนติเมตร
4 เดือน ขนาดของศีรษะจะเพอ่มขึ้นเป็น 40 เซนติเมตร
ความยาวหรือความสูง
อายุน้อยกว่า 2 ปี วัดในท่านอน(recumbent position) เป็นความยาวตัวโดยการจับตัวเด็กให้นอนหงายหน้าตรงบนโต๊ะ ศีรษะยันไว้กับตัวเครื่องวัดที่ยึดติดที่เหยียดตัวเด็กให้ตรง เลือนเเกนวัดด้านเท้ามาจรดกับส้นเท้า
อายุมากกว่า 2 ปี วัดท่ายืนตรงหันหลัง โดยส้นเท้า ก้น สะบักหลัง เเละศีรษะส่วนท้ายทอยสัมผัสกับเเกนวัดเพื่อป้องกันตัวเองเเละหลังค่อย เลื่อนเเกนวัดมาสัมผัสกับส่วนบนสุดของศีรษะ
พัฒนาการเเต่ละช่วงวัย
การติดตามพัฒนาการเเละวิธีการส่งเสริมพัฒนาการวัยเเรกเกิด-1 ปี
เส้นรอบอก
อายุ 1 ปี เส้นรอบวงศีรษะจะเท่ากับเส้นรอบอก
อายุมากกว่า 1 ปี เส้นรอบอกจะใหญ่กว่าเส้นรอบศีรษะ
เด็กเเรกเกิด ศีรษะจะโตกว่าลำตัวทำให้เส้นรอบวงศีรษะมากกว่าเส้นรอบอก
นํ้าหนัก
4-5 เดือน นํ้าหนักตัวเป็นสองเท่าของนํ้าหนักเเรกคลอดเมื่ออายุ
อายุ 1 ปี นํ้าหนักตัวจะเป็นสามเท่าของนํ้าหนักเเรกคลอด
3-6 เดือนเเรก นํ้าหนักเพิ่มเฉลี่ยวันละ 20-30 กรัม