Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหัวใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหัวใจ
โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด/ตาย
ปัญหาสุขภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจในระยะพักฟื้น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1: ผู้ป่วยวิตกกังวลเนื่องจากรับรู้ว่าวิถีชีวิตจะถูกจำกัด
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะที่แสดงออก ระดับความวิตก กังวลและแบบแผนการเผชิญปัญหา
ให้ความมั่นใจว่าระยะต่างๆ ของโรคกล้ามเนื้อ หัวใจได้ผ่านพ้นไปแล้ว
ให้โอกาสผู้ป่วยพูดระบายสิ่งกังวล และจัด สิ่งแวดล้อมให้สงบ ผ่อนคลาย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยถามและให้คำตอบที่เหมาะสม
เน้นผลดีของการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต และให้ ทางเลือกที่ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติได้
วางโปรแกรมการฟื้นฟูร่วมกับผู้ป่วย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 2: การเผชิญปัญหาของผู้ป่วยบกพร่อง เนื่องจากคามเศร้าโศกที่เกิดขึ้น และรู้สึกว่าสูญเสียสมรรถภาพทางกาย
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินระยะของการสูญเสียและให้การพยาบาล ที่เหมาะสม
แนะนำให้ผู้ป่วยคิดถึงความเข้มแข็งของตนเองและ ระบบช่วยเหลือ
ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการวางแผนการดำเนิน ชีวิตประจำวัน
ชี้ให้เห็นผลดีของโปรแกรมฟื้นฟู
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 3: การดำรงภาวะสุขภาพไม่เหมาะสม เนื่องจากขาดความรู้และปฏิเสธการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ
สร้างสัมพันธภาพเชิงรุกระหว่างพยาบาล กับผู้ป่วยและครอบครัว
แนะนำวิธีการจัดการเกี่ยวกับอาหารที่รับประทาน ได้เพื่อลดปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะเสี่ยงต่าง ๆ
วางแผนร่วมกับผู้ป่วยในการปรับรูปแบบชีวิต การลด ความเครียด การออกกำลังกายผสมกับการ ดำเนินชีวิต
ในผู้ป่วยสูบบุหรี่ จัดให้ปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญ เรื่องการเลิกบุหรี
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 4: ขาดความรู้เกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพของหัวใจ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความต้องการการเรียนรู้ ความพร้อมที่จะเรียน
การสอนผู้ป่วยและครอบครัวในเรื่องต่าง ๆ
จัดคู่มือแนะนำแนวทางการใช้ยา
กระตุ้นให้ซักถาม อธิบายซ้ำ
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะที่หัวใจทำงานผิดปกติ ไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะและเนื้อเยื่อต่างๆ ได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ความผิดปกติที่เพิ่มภาระงานให้กับหัวใจมากเกินไป
ความผิดปกติที่รบกวนความสามารถในการสูบฉีด เลือดของหัวใจ
โรคของกล้ามเนื้อหัวใจที่ทำให้ลดแรงบีบตัว
ภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจต้องทำงานหนักเอาชนะ แรงต้าน เพื่อสูบฉีดไปเลี้ยงร่างกาย
ภาวะที่ลิ้นหัวใจถูกทำลาย
ภาวะที่ขัดขวางไม่ให้หัวใจขยายและรับเลือดได้
สาเหตุชักนำ
Pulmonary embolism
การติดเชื้อ
ภาวะโลหิตจาง
ต่อมธัยรอยด์เป็นพิษ และการตั้งครรภ์ เป็นภาวะที่ร่างกายต้องการเลือดและออกซิเจนเพิ่มขึ้น
ภาวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ
ไข้รูมาติกและกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
เยื่อบุหัวใจอักเสบจากการติดเชื้อ
พฤติกรรมสุขภาพ
ความดันโลหิตสูง
พยาธิสรีรภาพและกลไกการปรับตัว
จะเริ่มต้นทันทีเมื่อเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวหรือเมื่อปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน 1 นาที ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ร่างกายจะกระตุ้นการทำงานของระบบประสาท Sympathetic กระตุ้น Adrenergic receptor โดยเฉพาะ Beta adrenergic receptor และ Alpha adrenergic receptor เพื่อทำให้หัวใจมีการเต้นเร็วขึ้น มีStroke volume เพิ่มขึ้น
ชนิดของโรคหัวใจล้มเหลว
Systolic กับ diastolic dysfunction
หัวใจห้องล่างซ้ายกับหัวใจห้องล่างขวาล้มเหลว (Left versus right ventricle failure)
มักเกิดในผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ
และโรคลิ้นหัวใจโดยเฉพาะลิ้น Aortic และลิ้น Mitral
สาเหตุมาจากหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลวหรือเกิดอาการตาย
ของกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวา หรือเกิดจากความดันในปอดสูง
Low output และ high output syndrome
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษเพื่อการวินิจฉัย
การตรวจ Electrolytes เนื่องจากผู้ป่วยได้รับยาปัสสาวะซึ่งมีผลกระทบต่อ ระดับของ Electrolytes ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวมักพบว่ามีโซเดียม ลดต่ำลง
Blood urea nitrogen, Serum creatinine เพื่อประเมินการทำงานของไต ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวมักพบว่า BUN และ Creatinine จะสูงขึ้น จากการที่ไตทำงานลดลง
Urinalysis เพื่อประเมินการทำงานของไต รวมทั้งภาวะน้ำเกินหรือภาวะ ขาดน้ำ
Hemoglobin และ Hematocrit ลดต่ำลง ผล Arterial blood gas พบว่า ค่า oxygen saturation ลดลง
การ X-ray ปอด ะทำให้เห็นพื้นที่และขอบเขตของปอด ลักษณะของหัวใจ ที่โตกว่าปกต
การทำ Echocardiogram พบว่าหัวใจขยายใหญ่กว่าปกต
ผลการตรวจตับพบว่าตับใหญ่ขึ้น
ปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปริมาตรที่หัวใจส่งต่อนาทีลดลงเนื่องจากหัวใจ ทำงานไม่มีประสิทธิภาพ
การ Perfusion ของหลอดเลือดส่วนปลายลดลง เนื่องจากปริมาตรเลือดที่หัวใจส่งออกต่อนาทีลดลง
การแลกเปลี่ยนแก๊สบกพร่องเนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียนในปอด
แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจาก ความเจ็บปวด วิตกกังวลและการไหลเวียน บกพร่อง
มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตรสารน้ำเข้า-ออกของ ร่างกาย เนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานของ หัวใจลดลง
เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากสอดสายต่าง ๆ เข้าใน ร่างกาย
วิตกกังวลเนื่องจากความเจ็บปวด หายใจ ลำบาก สิ่งแวดล้อมที่ไม่คุ้นเคย กลัวตาย
ขาดความรู้เกี่ยวกับโรคการดำเนินของโรคและ แนวทางการรักษา
กิจกรรมการพยาบาล
1.จัดให้นอนศีรษะสูงและช่วยเหลือในการเปลี่ยนท่าทุก 2 ชั่วโมง
วัดสัญญาณชีพทุก 1–2 ชั่วโมง
ให้ออกซิเจนและยาตามแผนการรักษา
จัดอาหารที่ส่งเสริมการขับถ่าย
หากมีการสอดใส่สาย ต้องประเมินบริเวณที่สอดใส่สาย
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกทุก 8 ชั่วโมง
เปลี่ยนตำแหน่งให้สารละลายและทำความสะอาดแผลตามความ เหมาะสม
อธิบายถึงสภาพแวดล้อม เครื่องมือต่างๆ กฎระเบียบ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ การรักษา
อธิบายให้ญาติเข้าใจว่าความวิตกกังวล
แนะนำเทคนิคการผ่อนคลายและร่วมวางแผนกับผู้ป่วยในการเลือกวิธี ที่เหมาะสม
แนะนำวิธีการแก้ปัญหาที่ผู้ป่วยและครอบครัวเคยใช้และประสบความ สำเร็จ
ปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ความทนต่อกิจกรรมต่างๆ ลดลงเนื่องจากปริมาณเลือดที่หัวใจส่งออก ต่อนาทีลดลง
ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมเมื่อกลับ บ้านเกี่ยวกับการรับประทานยา และอาหารที่เหมาะสม
กิจกรรมการพยาบาล
1.วางแผนร่วมกับผู้ป่วยเกี่ยวกับกิจกรรมที่ควรทำและค่อยๆ พัฒนาความทนต่อกิจกรรมขึ้นเรื่อยๆ
2.ดูแลผิวหนังในกรณีที่มีการจำกัดกิจกรรมมากหรือต้องนอนพักบนเตียง
3.ประเมินการไหลเวียนของเลือดไปยังอวัยวะส่วนปลายทุก 8 ชั่วโมง
4.ติดตาม Mental status ที่บ่งบอกว่าอาจมีภาวะสมองขาดออกซิเจน
5.ชั่งน้ำหนักเมื่อแรกรับและทุกวัน เวลาเดิม
6.ประเมินอาการบวมบริเวณแขนขา สังเกตการโป่งพองของหลอดเลือดที่คอ บันทึกน้ำเข้าออก
7.จำกัดน้ำในแต่ละวันและแบ่งน้ำให้เหมาะสมในแต่ละเวร จำกัดโซเดียมในอาหาร
9.จัดอาหารอ่อนที่ย่อยง่ายให้แก่ผู้ป่วย
10.อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยที่เป็นสาเหตุของโรค และปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดภาวะ แทรกซ้อน
11.สอนการใช้ยา แนะนำวิธีการออกกำลังกายตามข้อต่าง ๆ
13.แนะนำให้จัดเตรียมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนไว้ที่บ้าน
12.เน้นให้เห็นความสำคัญของการมาพบแพทย