Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case study conference ผู้ป่วยชายไทย อายุ 63 ปี - Coggle Diagram
Case study conference
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 63 ปี
การวินิจฉัยโรค
CFX Rt medial lateral malleolus
การบาดเจ็บต่อกระดูกและข้อในระดับของขาและเท้า
การผ่าตัด
DB c orif 1/3 tubular plate e small cancellous screw right ankle (7 ธันวาคม 2563)
อาการสำคัญ
ขี่ MC ถูกรถชนเฉี่ยวชน มีแผลมือขวาและเท้าขวา ไม่สลบ 5 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
5 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ขี่ MC ถูกรถชนเฉี่ยวชน มีแผลมือขวาและเท้าขวา ไม่สลบ
1 ปีก่อนมาโรงพยาบาล เป็น BPH (Benign Prostatic Hyperplasia)โรคต่อมลูกหมากโต ได้รับประทานยาและมาตรวจทุกครั้ง
1 ปีก่อนมาโรงพยาบาล เป็น DM (Diabetes Mellitus) โรคเบาหวาน ได้รับประทานยาและมาตรวจทุกครั้ง
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
20 ปีก่อนมาโรงพยาบาล เคยได้รับการผ่าตัดริดสีดวง ปัจจุบันหายแล้ว
ข้อมูลแบบแผนสุขภาพ
7.การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
การเจ็บป่วยครั้งนี้มีผลกระทบต่อ(ภาพลักษณ์,อารมณ์และจิตใจ,ความสามารถ) มีผลต่ออารมณ์ คือหงุดหงิดง่าย เนื่องจากช่วยเหลือตัวเองไม่ค่อยได้ เพราะปวดเท้าจากการผ่าตัด
สิ่งที่ทำให้เกิดความเครียด/ไม่สบายใจในปัจจุบัน เรื่องหนี้สิน
8.บทบาทและสัมพันธภาพ
ทำให้ขาดรายได้
การประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
มี 5 คะแนน มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มระดับสูง
อาการแรกรับ
รู้สึกตัวดี มีแผลบริเวณมือและเท้า on slab ใช้ผ้ายืด (Elastic bandage) พันไว้ที่มือและเท้าข้างขวา และปลายมือ ปลายเท้าบวม on 0.9 % NSS 1000 ml 80 cc/hr 26 drop/min ที่แขนข้างซ้าย T = 36.8 องศาเซลเซียส P = 82 ครั้ง/นาที R = 18 ครั้ง/นาที BP = 103/64 มม.ปรอท
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
แผนการพยาบาลวันที่ 14 ธันวาคม 2563
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดบริเวณขาด้านขวาที่มีการใส่ slab
วัตถุประสงค์
เพื่อบรรเทาอาการปวดแผล
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้ป่วยบ่นปวดลดลง
pain score < 3 คะแนน
3.สังเกตสีหน้าท่าทาง
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการปวดใช้ pain score โดย
1.เพื่อทราบอาการเปลี่ยนแปลงของอาการปวด โดยที่สามารถให้การพยาบาลได้ถูกต้อง
2.จัดท่านอนให้เหมาะสมโดยนำหมอนมารองใต้ขาข้างที่ใส่ slab
2.เพื่อป้องกันการปวดแผลและลดอาการเกร็งบวมของแผล
3.ประเมินอาการ โดยวัด V/S
3.เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลง ของV/S
แผนการพยาบาลวันที่ 15 ธันวาคม 2563
2.เสี่ยงต่อการเกิด Phlebitis
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันการเกิด Phlebitis
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลการให้ยา Cefazolin 1 g IV q 6 hr. (6,12,18,24) โดยยึดหลัก Aseptic technique และสังเกตอาการบวม แดง
1.เพื่อไม่ให้เพิ่มการสะสมของเชื้อโรคจากตัวพยาบาลสู่ผู้ป่วยและการให้สารน้ำอาจทำให้ระคายเคืองต่อผิวหนังหรือเกิดการแพ้ยาเพราะสารเคมีที่ให้อาจมีผลต่อความเข้มข้นหรือให้เร็วจนเกินไป ทำให้เกิด Chemical phlebitis
2.สังเกตตำแหน่งที่ on injection plug ว่ามีอาการบวม แดง ร้อน
2.เพื่อให้ทราบถึงลักษณะอาการของผู้ป่วยเกิดการอักเสบบวมแดง
3.ระดับความรุนแรงของหลอดเลือด ถ้าอักเสบ โดย
3.เพื่อให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของอาการอักเสบ ของหลอดเลือดโดยที่จะได้ให้การพยาบาลอย่างถูกต้อง
4.สังเกตและเปลี่ยนแปลงพลาสเตอร์ที่ปิดบริเวณที่แทงเข็มทุก ๆ 4 วัน
4.เพื่อป้องกันการติดเชื้อจากการติดพลาสเตอร์ไว้เป็นเวลานาน เพราะอาจส่งผลให้เกิดการสะสมของเชื้อโรค
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผิวหนังผู้ป่วยไม่มีอาการบวม แดง จากการใช้ยา Cefazolin ที่ on injection plug
2.ไม่มีไข้ < 37.5 c
3.วัด V/S เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงทุก ๆ 4 hr.
แผนการพยาบาลวันที่ 16 ธันวาคม 2563
3.ภาวะซีดจากการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
วัตถุประสงค์
1.ลดภาวะซีด ไม่เหนื่อยง่าย
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการการหายใจ แสดงอาการของภาวะซีด คือดูสีของผิวหนัง ตัวเย็น เยื่อบุตาซีด
1.เพื่อเฝ้าระวังอาการผิดปกติ
4.ประเมินอาการระบบการไหลเวียนของเส้นโลหิตฝอยที่บริเวณปลายมือปลายเท้า
4.เพื่อดูภาวะซีดจากระบบไหลเวียนเลือดส่วนปลาย
3.ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนอยู่บนเตียง
3.เพื่อลดกิจกรรมการใช้ O2 มากเกินความจำเป็น
2.ประเมินค่า SPO2
2.เพื่อดูประเมินค่า SPO2 ในร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
1.ค่า HCT อยู่ในช่วง 42-52 %
2.ค่า HB อยู่ในช่วง 14.0-18.0 g/dl
4.ผู้ป่วยเสี่ยงต่อไตเสียหน้าที่
เกณฑ์การประเมินผล
กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ
กิจกรรมการพยาบาล
2.ฟังเสียงปอดทุกเวร
2.เพื่อประเมินภาวะน้ำท่วมปอดและปรับแผนการรักษาได้ทันท่วงที
3.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.เพื่อดูการทำงานของไต
4.ประเมินค่า AKI (Acute kidney injury)
เกณฑ์การประเมินผล AKI
Stage 1 : sCr 1.5-1.9 x baseline
Stage 2 : sCr 2.0-2.9 x baseline
Stage 3 : sCr > 3.0 x baseline or
≥4 mg/dL ordialysis
1.ประเมินสภาพผู้ป่วย โดยสังเกตอาการเหนื่อยลดลง
1.เพื่อเฝ้าระวังอาการผิดปกติของผู้ป่วย
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะไตวายเฉียบพลัน
แผนการพยาบาลวันที่ 17 ธันวาคม 2563
5.วิตกกังวลในการปฏิบัติตนขณะใส่เฝือกบริเวณเท้า
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้ป่วยและครอบครัวบอกว่ากังวลลดลง
2.ผู้ป่วยและครอบครัวมีความรู้เกี่ยกวับการใส่เฝือกที่ถูกต้องครบถ้วนและครอบคลุม
3.สีหน้าสดชื่น ยิ้มแย้ม
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสีหน้า ท่าทาง ที่แสดงถึงความวิตกกังวล
1.เพื่อประเมินการแสดงออกถึงลักษณะท่าทางที่แสงออกถึงความวิตกกังวลของผู้ป่วย ตัวอย่าง หงุดหงิด โมโหง่าย ซึม หน้านิ่ว คิ้วขมวด
2.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกและรับฟังความคิดเห็นอย่างสนใจ
2.เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีโอกาสระบายความรู้สึกและความวิตกกังวลขณะที่ต้องพักรักษาอยู่ที่โรงพยาบาล
3.สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและญาติยิ้มแย้ม และให้การพยาบาลด้วยความเต็มใจ นุ่มนวล
3.การให้การพยาบาลที่อ่อนโยนจะทำให้ผู้ป่วยลดความตึงเครียดและคลายกังวลจากความวิตกกังวลได้
4.อธิบายเหตุผลการพยาบาลหรือทำหัตถการให้ผู้ป่วยทราบทุกครั้ง
4.เพื่อให้ผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยและครอบครัวมีความวิตกกังวลลดลง
แผนการพยาบาลวันที่ 18 ธันวาคม 2563
6.พร่องกิจวัตรประจำวัน เนื่องจากถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
กิจกรรมการพยาบาล
1.ช่วยเหลือผุ้ป่วยในการทำกิจวัตรประจำวัน
1.เพื่อให้ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองในเรื่องกิจวัตรประจำวันได้
2.ยกไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้งหลังให้การพยาบาล
2.เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ อาการพลัดตกหกล้ม
3.จัดสิ่งแวดล้อมและอุปกรณ์อำนวยความสะดวกโดยรอบเตียง เช่น เหยือกน้ำ แก้วน้ำ
3.เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถหยิบจับสิ่งของได้ด้วยตนเองและป้องกันการพลัดตกหกล้ม
4.ประเมินอาการและอาการแสดงผล
4.เพื่อประเมินสาเหตุที่ส่งผลต่อการอาการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย
5.ประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันช่วยเหลือด้านการเคลื่อนไหว
5.เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนในด้านการช่วยเหลือให้ได้รับการเคลื่อนไหว
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้ป่วยสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
2.เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ หยิบจับของเองได้
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน