Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การปรับตัวในสังคมปัจจุบัน - Coggle Diagram
บทที่ 6 การปรับตัวในสังคมปัจจุบัน
ชาล์ล ดาร์วิน
มิใช่คนฉลาดหรือคนที่แข็งแกร่งที่สุดที่จะอยู่รอดได้ หากแต่เป็นคนที่สามารถปรับตัวได้กับการเปลี่ยนแปลงต่างหาก
ความสำคัญของการปรับตัว
ช่วยบรรเทาความรู้สึกคับข้องใจ ความขัดแย้ง ความกดดันและความเครียด
การรู้จักปรับตัวที่มีประสิทธิภาพจะช่วยลดปัญหาสุขภาพจิต
ช่วยให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
ทำให้มีบุคลิกภาพที่ดี
สภาวะที่ก่อให้เกิดการปรับตัว
สภาวะทางกายภาพ
การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
สภาวะทางจิตวิทยา
เป็นการปรับตัวด้านจิตใจ
ความคับข้องใจ
สภาพอารมณ์หรือความรู้สึกที่ไม่พึงำอใจ ทำให้ไม่บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ เพราะบุคคลต้องพบกับอุปสรรค
สาเหตุที่ทำให้เกิดความคับข้องใจ
ตัวบุคคล -> ความบกพร้องทางกาย ทางสติปัญญา
สื่งแวดล้อม -> ทางกายภาพและทางสังคม
ความขัดแย้งในใจ
สภาวการณ์ที่ทำให้บุคคลเกิดความลำบากใจ อึดอัดหนักใจ ที่ต้องตัดสินใจเลือกสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งอาจจะชอบมากเท่าๆกัน
แบ่งเป็น 4 ประเภท
ความขัดแย้งแบบต้องการทั้งคู่
เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเพราะบุคคลตัดสินใจไม่ได้ว่าจะเลือกสิ่งไหนดีกว่ากัน เพราะมีชอบสิ่งเร้าทั้งสองอย่างนั้นพอๆกัน
รักพี่เสียดายน้อง
ความขัดแย้งแบบไม่ต้องการทั้งคู่
ความขัดแย้งที่ก่อให้เกิดความไม่สบายใจให้กับบุคคลได้มากที่สุด เพราะไม่ต้องการทั้งสองอย่าง แต่ต้องเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
หนีเสือปะจระเข้
ความขัดแย้งแบบต้องการและไม่ต้องการ
เมื่อบุคคลเลือกสิ่งหนึ่งที่ชอบและได้สิ่งที่ไม่ชอบตามมาด้วย
เกลียดตัวกินไข เกลียดปลาไหลกินน้ำแกง
ความขัดแย้งแบบต้องการและไม่ต้องการใน 2 สถานการณ์
บุคคลต้องตัดสินใจเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่จะมีลักษณะซับซ้อนกว่าแบบที่สาม
ความกดดัน
สถานการณ์ที่บังคับจำเป็นต้องกระทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดภายในเวลาจำกัด
สาเหตุของความกดดัน
ตัวบุคคล -> ตั้งความมุ่งหมาย และอุดมคติไว้สูง
สถานการณ์ -> บุคคลต้องเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ ที่บังคับ หรือ บีบคั้นให้บุคคลทำ
ความเครียด
สภาวะการตอบสนองของบุคคลทั้งทางกายและจิตใจต่อสภาพที่เกิดขึ้น
สาเหตุที่ทำให้เกิดความเครียด
ความเครียดที่เกิดจากสาเหตุทางร่างกาย
ความเครียดที่เกิดจากความต้องการทางจิตใจ
ความเครียดที่เกิดจากสังคมและสภาพแวดล้อม
ความเครียดที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของชีวิต
องค์ประกอบของความเครียด
ปัจจัยภายในตัวบุคคล
ร่างกาย
ลักษณะทางพันธุกรรม
ความเหนื่อยล้าทางกาย
การรับประทานอาหารและพักผ่อนไม่พอ
จิตใจ
ความขัดแย้งในใจ
ความคับข้องใจ เช่น การสูญเสีย ท้อแท้
การพบเหตุการณ์ไม่คาดฝัน
สิ่งแวดล้อม
สภาพแวดล้อมรอบตัวเรา
สิ่งแวดล้อมที่สามารถทำอันตรายต่อตัวเรา
สภาพแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรม
ระดับของความเครียด
ความเครียดระดับต่ำ
ความเครียดระดับกลาง
ความเครียดระดับสูง
เทคนิคจัดการความเครียด
การควบคุมลมหายใจลึก
การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
การใช้จิตนาการ
ยืดกล้ามเนื้อ
การทำสมาธิ / ใช้ดนตรีบำบัด
การปรับตัวของมนุษย์
การปรับตัวแบบรู้ตัว
การปรับตัวโดยบุคคลพยายามแก้ปัญหาที่สร้างความไม่สบายใจต่างๆเพื่อให้มีชีวิตอยู่ได้ด้วยความสุข
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตนเอง
ดำเนินชีวิตอย่างมีจุดหมาย
เปลี่ยนอุปนิสัย
วางแผนเรื่องเวลา
ทำงานอดิเรก
มีอารมณ์ขัน
ปรับปรุงเปลี่ยนสถานการณ์ที่เป็นปัญหา
เปลี่ยนบรรยากาศที่พักอาศัยหรือที่ทำงาน
หลีกเลี่ยงการเผชิญกับสถานการณ์ที่เลวร้าย
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบการทำงาน
การปรับตัวแบบไม่รู้ตัว
เกิดขึ้นเองโดยที่บุคคลไม่รู้ตัวว่าตนเองกำลังลดความทุกข์ใจ จึงหาทางออกด้วยวิธีที่เรียกว่า "กลไกทางจิตหรือ กลวิธีป้องกันทางจิต หรือ กลวิธานป้องกันตนเอง"
กลวิธานในการป้องกันตนเอง
แบบต้อสู้หรือเผชิญสถานการณ์
การก้าวร้าว
ความก้าวร้าวทางตรง
เตะ ต่อย ทุบ ตี ด่าว่า
ความก้าวร้าวทางอ้อม
นิ่ง ขีดเขียนกำแพง
หลีกเลี่ยง
การปฏิเสธไม่ยอมรับความจริง
การถอยหนี
การถดถอย
การแยกตัวออกจากสังคม
การฝันกลางวันหรือเพ้อฝัน
แบบประนีประนอมสถานการณ์
ปฏิกิริยากลบเกลื่อน
การแสดงความพิการทางกาย
การกล่าวโทษบุคคลอื่นหรือสิ่งอื่น
การเลียนแบบ
การสำนึกบาป
การปรับตัวตามแนวพุทธศาสนา
อริยสัจ 4
ทุกข์
สมุทัย
นิโรธ
มรรค