Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปกป้องกัน และการปราบปรามทุจริตในประเทศไทย (พ.ศ.2560-2564),…
การปกป้องกัน
และการปราบปรามทุจริตในประเทศไทย
(พ.ศ.2560-2564)
ประชาชนและสังคมตื่นตัวและไม่ทนต่อการทุจริตทุกรูปแบบ
สังคมเกิดสภาวะการลงโทษ ทางสังคมกดดันและไม่ ยอมรับพฤติกรรมการทุจริต
ประชาชนทุกช่วงวัยเกิดความละอายใจ ในการท าการทุจริตและไม่ยอมให้ผู้อื่น กระทำการทุจริต
ประชาชนทุกช่วงวัยมีฐานความคิดในการ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับ ผลประโยชน์ส่วนรวมได้
เจตจำนงทางการเมือง (Political will) ในการต่อต้านการทุจริตดำรงอยู่ อย่างต่อเนื่อง
รัฐบาลมีเจตจำนงทางการเมืองใน การต่อต้านทุจริตตามเจตจำนง ทางการเมืองของประชาชน
รัฐบาลนำเจตนารมณ์ทางการเมือง ในการต่อต้านการทุจริตไปสู่ การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
กระบวนการนโยบาย มีความโปร่งใส เป็นไป ตามหลักธรรมาภิบาล และเกิดผลประโยชน์ต่อประชาชน
การทุจริตเชิงนโยบายมีโอกาส เกิดขึ้นได้น้อยลง
ประชาชนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใน การตรวจสอบการทุจริต
กลไกและกระบวนการ ป้องกันการทุจริต มีความเข้มแข็งและเท่า ทันต่อสถานการณ์ การทุจริต
หน่วยงานภาครัฐมีการดำเนินงาน ตามภารกิจอย่างโปร่งใส
การทุจริตของเจ้าหน้าที่รัฐกระทำได้ยากและถูกยับยั้งได้อย่างเท่าทัน
ดัชนีการรับรู้เรื่อง การทุจริตของ ประเทศไทย มีแนวโน้มที่ดีขึ้น
ประเทศไทยได้รับการยอมรับจากนานาประเทศ ในเรื่องการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ประเทศไทยมีความน่าเชื่อถือ ในการทำธุรกิจและลงทุนของ ภาคเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศดีขึ้น
กลไกและกระบวนการ ปราบปรามการทุจริต มีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และทรงพลัง
ผู้กระทำความผิดได้รับการ ลงโทษอย่างเป็นรูปธรรม
ประชาชนและเจ้าหน้าที่รัฐ เกรงกลัว ต่อการกระทำการทุจริต
นายเชิดศักดิ์ ชินบุตร รหัส001 สชอ.1/1