Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหัวใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหัวใจ
การประเมินสภาพความผิดปกติของหัวใจ
1.การซักประวัติ
ข้อมูลทั่วไป
อายุ เพศ อาชีพและหน้าที่การงาน ภูมิลําเนา เชื้อชาติ ศาสนา
การศึกษา
สถานภาพสมรส
ฐานะความเป็นอยู่
ข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ (น้ําหนัก, ส่วนสูง)
อาการสําคัญ
อาการอ่อนเพลีย อาการใจสั่น เป็นลมหมดสติ อาการบวม อาการอื่นๆ เช่น ซีด เขียว
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน
ประวัติความเจ็บป่วยในอดีต
แบบแผนการดําเนินชีวิต
การออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร
ประวัติความเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
2.การตรวจร่างกาย
1.การสังเกตลักษณะทั่วไป
2.การดูหลอดเลือดดําที่คอ
3.การคลําบริเวณหัวใจ
4.การฟังบริเวณหัวใจ
5.การฟังเสียงปอด
3.การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
1.ระดับเอ็นไซม์ในกระแสเลือด
SGOT
LDH
CK
2.การตรวจนับเม็ดเลือดทั้งหมด
CBC
3.อัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง
ESR
4.การทดสอบการแข็งตัวของเลือด
INR
PTT
PT
5.การตรวจสารเคมีในเลือด
BUN
Cr
Lipid profile
K
Ca
การตรวจอื่นๆ
ABG
Serum VDRL
4.การตรวจพิเศษ
การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiography: EKG หรือ ECG)
การทดสอบสมรรถภาพหัวใจโดยการออกกําลัง (Exercise stress test)
การตรวจสวนหัวใจ (Cardiac catheterization)
Echocardiography
โรคที่เกิดจาการทําหน้าที่ของหัวใจที่ผิดปกติ
โรคหลอดเลือดหัวใจในระยะเฉียบพลัน (Acute coronary syndrome: ACS)
อาการ
เจ็บหน้าอก มักเป็นแม้ว่าจะอยู่เฉยๆ และมักไม่เคยมีอาการมาก่อน
STEMI
เกิดจากการที่มีการอุดตันโดยสมบูรณ์ของเส้นเลือดอย่างฉับพลัน ทําให้
กล้ามเนื้อหัวใจเกิดการขาดเลือดอย่างรุนแรงและมีการตายของกล้ามเนื้อหัวใจอย่างรวดเร็ว
ยาที่ควรได้รับ
1.Dual antiplatelet at least 12 months: Aspirin and Clopidogel or Prasugrel or Ticagrelor
2.Anticoagulant up to 8 days or hospital discharge: Unfractionated heparin or Enoxaparin or Fondaparinux or Bilvariludin
3.Oral Betablocker (contraindicate for early use in hemodynamic instability patient)
4.Angiotensin-converting enzyme inhibitors (ACEi) or Angiotensin receptor blockers (ARB)
5.Mineralocorticoid receptor antagonists: in patient with LV dysfunction: EF< 40%
6.Lipid lowering therapy keep LDL < 70 mg/dl: suggest intensive stain eg. Atrovastatin 40-80 mg, Rosuvastatin 10-20 mg
การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจด้วยหัตถการพิเศษ
1.การสวนเพื่อขยายหลอดเลือดโคโรนารีทางผิวหนัง(PTCA/PCI)
การสวนจะใช้กับเส้นเลือดที่มีการตีบตัน เพื่อขยายหลอดเลือดโคโรนารีทางผิวหนังให้ขนาดของหลอดเลือดที่อุดตันกว้างขึ้น การไหลเวียนเลือดดีขึ้นโดยไม่ต้องทําการผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วยก่อนทํา
ตรวจเลือดเพื่อหาค่า CK, อิเลคโตรลัยต์, PTT , BUN , Cr
ก่อนทําให้ผู้ป่วยรับประทานยา Aspirin 325 มิลลิกรัม และ Persantin 75 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง
อาจให้ยาลดการหดเกร็งของหลอดเลือด
การดูแลหลังทํา
เตรียมพร้อมในการช่วยฟื้นคืนชีพและการใช้ยาฉุกเฉิน
สังเกตอาการขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจคือ
นอนขาเหยียดตรง พักบนเตียงประมาณ 8 ชั่วโมง
หลีกเลี่ยงการยกศีรษะสูง หลีกเลี่ยงการเกร็งของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
หลังทําต้องประเมินประสิทธิภาพการทํางานของหัวใจ
ก่อนกลับบ้านต้องตรวจสอบสมรรถภาพหัวใจอีกครั้ง
2.การใช้ Laser angiography
3.การผ่าตัด Coronary artery bypass graft (CABG)
เป็นการผ่าตัดเพื่อเบี่ยงเบนส่วนทางเดินเลือดใหม่
ข้อบ่งชี้การผ่าตัด
1.จะทําในรายที่ให้การรักษาทางยาแล้วไม่ได้ผลหรืออาการไม่ดีขึ้น
2.มีอาการเจ็บหน้าอก ที่เกิดจากการอุดตันของ Left main coronary artery มากกว่า 50%
3.มี Unstable anginaที่มีสาเหตุจากการอุดตันของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจจํานวน 2–3 เส้น
4.มีภาวะหัวใจขาดเลือดร่วมกับภาวะหัวใจล้มเหลว
5.Acute myocardial infarction
6.ภาวะแทรกซ้อนหลังทํา PTCA เกิดหลอดเลือดแดงโคโรนารีทะลุหรือฉีกขาด
ข้อห้ามการผ่าตัด
1.ในรายที่กล้ามเนื้อหัวใจเสียเป็นแผลกระจายไปจนเกือบหมด
2.มีพยาธิสภาพของหลอดเลือดกระจายทั่วไปหมดและมีการไหลของหลอดเลือดไม่ดี
3.มีโรคร้ายอย่างอื่นร่วมด้วยจนผู้ป่วยอาจมีอันตรายจากการผ่าตัด
4.ประสิทธิภาพของการบีบตัวของ ventricle ซ้ายเสื่อมมาก
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
ดูแลงดยาตามแผนการรักษา
ดูแลและตรวจวัดระดับ Potassium ในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
สอนและให้ผู้ป่วยสาธิตย้อนกลับเกี่ยวกับการทํา Deep breathing exercise, effective cough และ การออกกําลังกายแขนขา รวมถึงการพลิกตะแคงและการเปลี่ยนท่าที่ถูกต้อง
อธิบายเกี่ยวกับวิธีการผ่าตัดรวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ที่จะติดมากับตัวผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดแล้ว
NSTEMI หรือ Unstable angina
โรคนี้เป็นการอุดตันเส้นเลือดแม้จะเกิดขึ้นรวดเร็วแต่เป็นการอุดกลั้นแบบไม่สมบูรณ์
ยาที่ควรได้รับ
1.Dual antiplatelet at least 12 months: Aspirin and Clopidogel or Prasugrel or Ticagrelor
2.Anticoagulant ใน acute phase: Unfractionated heparin or Enoxaparin or Fondaparinux or Bilvariludin
3.Betablocker
4.ACEi or ARB
5.Nitrate: for control ischemia
6.Mineralocorticoid receptor antagonists: in patient with LV dysfunction: EF< 40%
7.Lipid lowering therapy keep LDL < 70 mg/dl: suggest intensive stain eg. Atrovastatin 40-80 mg, Rosuvastatin 10-20 mg
ปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจในระยะเฉียบพลัน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1: มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง เนื่องจากการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจบกพร่อง และ/หรือหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
กิจกรรมการพยาบาล
1.Absolute bed rest และส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้พักอย่างเต็มที่ โดยจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ จัดท่าใช้ผ้าหนุนรองเพื่อให้ได้พักผ่อนในท่าที่สบาย ควรจัดท่า Semi – fowler
2.วัดสัญญาณชีพทุก 1–4 ชั่วโมง ติดตามค่าความดันเลือดแดงและ Cardiac output จาก Monitoring device
3.เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการมี Perfusion ของปอดและหัวใจลดลง
4.ติดตามคลื่นและจังหวะการเต้นของหัวใจจาก Monitoring device
5.ประเมินการมีปริมาตรเลือดออกจากหัวใจลดลงในขณะที่หัวใจเต้นผิดจังหวะ
6.ประเมิน Perfusion ของสมองทุก 1 – 4 ชั่วโมง
7.ประเมิน Perfusion ของไต
8.ประเมิน Perfusion ของอวัยวะส่วนปลายที่ลดลง
9.ให้ออกซิเจนทาง Nasal cannula ประมาณ 4–6 ลิตรต่อนาทีแนะนําให้ใช้ออกซิเจนตลอดเวลา โดยเฉพาะขณะทํากิจกรรม
10.ควบคุมการให้สารน้ําแก่ผู้ป่วยทั้งทางหลอดเลือดดํา การดื่มและอื่นๆ อย่างระมัดระวังและต่อเนื่อง
11.จัดอาหารย่อยง่ายให้ทีละน้อย งดเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน ประเมินการทําหน้าที่ของระบบย่อยอาหาร
แนะนําหรือให้การพยาบาลที่หลีกเลี่ยงการทําให้ผู้ป่วยมี Valsava maneuver เช่นให้อาหารที่ป้องกันท้องผูกหรือให้ยาที่ทําให้อุจจาระนุ่ม
แนะนําให้หลีกเลี่ยง Isometric exercise ให้ยาตามแผนการรักษา สังเกตอาการและอาการข้างเคียง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 2: มีการเปลี่ยนแปลงของ Perfusion ของเนื้อเยื่อหัวใจ ปอด สมอง ไต และอวัยวะส่วนปลายอื่น ๆ เนื่องจากปริมาตรเลือดที่หัวใจส่งออกต่อนาทีลดลง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 3: การแลกเปลี่ยนก๊าซบกพร่อง เนื่องจากปริมาตรเลือดที่หัวใจส่งออกต่อนาทีลดลง และมีภาวะน้ํำเกิน
กิจกรรมการพยาบาล
จัดท่า Fowler’s position จํากัดกิจกรรมในช่วงที่มีการหอบเหนื่อย ช่วยเหลือในการเปลี่ยนท่าที่เหมาะสมตามที่ผู้ป่วยต้องการ ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
ฟังเสียงการหายใจ บันทึกอัตราการหายใจ ความลึก รูปแบบทุกๆ 4 ชั่วโมง
2.ให้ออกซิเจนทาง Nasal cannula 4–6 ลิตรต่อนาที
4.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะปอดบวมน้ํา
5.ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
6.ควบคุมการให้สารน้ํา
บันทึกน้ําเข้าและออกอย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง
ชั่งน้ําหนักทุกวัน เวลาเดิม
จํากัดเกลือในอาหารและเครื่องดื่มตามที่กําหนด
10.ให้ยาตามแผนการรักษา ติดตามผลของยาและอาการข้างเคียงอย่างใกล้ชิด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 4: ผู้ป่วยมีความทนต่อกิจกรรมลดลง เนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลงและมีอาการเจ็บหน้าอก
กิจกรรมการพยาบาล
ให้Bed rest งดกิจกรรมที่ทําให้เจ็บหน้าอก ให้การช่วยเหลือในการเปลี่ยนท่า การมีกิจกรรมขับถ่าย
จัดเวลาให้การพยาบาลและตารางกิจกรรมของผู้ป่วยอย่างมีระบบ
ประเมินความทนในการทํากิจกรรม
ประเมิน บันทึกและรายงานอธิบายอาการเจ็บหน้าอกของผู้ป่วย
ให้การดูแลและอยู่เป็นเพื่อนในขณะที่ผู้ป่วยมีอาการเจ็บหน้าอก
ตรวจสอบการได้รับออกซิเจน ยาช่วยให้ผู้ป่วยสงบและพักผ่อนได้
แนะนำให้หลีกเลี่ยงการเบ่งอุจจาระหรือทำกิจกรรมที่ทำให้เกิด Valsava maneuve
ให้ยาระงับปวด และยาระงับประสาmตามแผนการรักษา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 5: ผู้ป่วยกลัวเนื่องจากเป็นสิ่งคุกคามชีวิต
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 6: วิตกกังวลเนื่องจากไม่แน่ใจในอาการ การพยากรณ์ ผลกระทบที่เกิดขึ้น และสิ่งแวดล้อมที่ไม่คุ้นเคย
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายเหตุผลที่ต้องรับไว้รักษาใน ICU / CCU วิธีการรักษาและความจำเป็นในการประเมินบ่อย ๆสร้างความมั่นใจในการดูแล
ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในบางเรื่อง เช่น การดูแลตนเอง การอนุญาตให้เข้าเยี่ยม
กระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดแสดงความรู้สึกและรับฟังด้วยความเต็มใจ
อธิบายหรือเพิ่มความกระจ่างในเรื่องแนวทางการรักษา
ให้การดูแลผู้ป่วยที่กลัวมากโดยการอยู่เป็นเพื่อน รับฟัง ยอมรับและแสดงความเห็นใจ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 7: แบบแผนการนอนหลับที่ผิดปกติ เนื่องจากเจ็บอกและไม่คุ้นเคยกับสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
สอบถามแบบแผนการนอนหลับและแบบแผนกิจกรรมก่อนนอนที่เคยทำเป็นประจำ
ประเมินสิ่งที่รบกวนการนอนหลับ
หาวิธีแก้ไขสิ่งที่รบกวนการนอนหลับโดยวางแผนร่วมกับผู้ป่วยและบุคลากรในทีมสุขภาพ
จัดสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการนอนหลับและลดการรบกวน
ให้การดูแลก่อนนอน เช่น บ้วนปาก ทำความสะอาดปากฟัน