Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของ ระบบทางเดินปัสสาวะ…
บทที่ 13 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของ
ระบบทางเดินปัสสาวะ ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
การตรวจร่างกายเกี่ยวกับทางเดินปัสสาวะ
การตรวจไต
1.1 การคล าไต
1.2 การตรวจ Costrovertebral angle tenderness
(CVA tenderness)
การตรวจกระเพาะปัสสาวะ
2.1 การด2.2 การคล า และเคาะหาต าแหน่งกระเพาะปัสสาวะบริเวณSuprapubic
การตรวจรูเปิดของท่อปัสสาวะ (Urethra orifice)
การตรวจปัสสาวะ
1.1 ปริมาตร
1.2 สีของปัสสาวะ
1.3 ภาวะความกรด – ด่าง ของปัสสาวะ (pH)
• 1.3.1 การที่มีปัสสาวะมีฤทธิ์เป็นกรดมากขึ้น1.3.2 การที่ปัสสาวะมีฤทธิ์เป็นด่างมากขึ้น เกิดจาก
• รับประทานผัก ผลไม้ บางอย่างมากเกินไป
1.5 ความขุ่นของปัสสาวะ (Turbidity)
1.6 กลิ่นของปัสสาวะ (Oder)• กลิ่นแอมโมเนีย เกิดจากเมื่อถ่ายปัสสาวะทิ้งไว้นานๆ แบคทีเรียจะเปลี่ยนยูเรียให้เป็น
แอมโมเนีย • กลิ่นเหม็น (Foul odor) เกิดจากการติดเชื้อในปัสสาวะ
• กลิ่นผลไม้ (Fruity odor) พบในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน • กลิ่นอุจจาระ (Fecal odor) พบในผู้ที่เป็นล าไส้ใหญ่อักเสบที่มีทางทะลุ ติดต่อมาถึง
กระเพาะปัสสาวะ
1.7 การตรวจหาโปรตีนหรือไข่ขาวในปัสสาวะ
1.8 การตรวจน้ าตาลในปัสสาวะ
1.9 การตรวจปัสสาวะด้วยกล้องจุลทรรศน์
1.9.1 เม็ดเลือดขาว (เซลล์หนอง) (White blood cell)
1.9.2 เม็ดเลือดแดง (Red blood cell)
การเจาะเลือดตรวจเพื่อตรวจ Blood urea nitrogen andCreatinine test
2.1 Blood urea nitrogen (BUN) การตรวจสอบหาค่า BUN
2.2 Creatinine (Cr.)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการทางระบบปัสสาวะ
การตรวจพิเศษระบบทางเดินปัสสาวะ
การส่องกล้องตรวจท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
(Cystourethroscopy)
Renal Biopsy คือ การตัดชิ้นเนื้อที่ไตและน าเนื้อเยื่อ
มาดูด้วยกล้องจุลทรรศน
Intravenous pyelography (IVP) เป็นการตรวจ
วิเคราะห์ขั้นแรกในผู้รับบริการที่มีโรคเกี่ยวกับไต
Computerized tomography of the
kidney (CT of the kidney)
Renal angiography คือ การถ่ายภาพ
หลอดเลือดของไต
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
Urinary Tract Infection (UTI)
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ (Urinary Tract
Infection: UTI) หมายถึง เกิดการอักเสบของระบบทางเดินปัสสาวะอันมีสาเหตุจากการติดเชื้อ หมาย
รวมถึงการติดเชื้อตั้งแต่ท่อปัสสาวะไปจนถึงไต โดยสาเหตุส่วนมากเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจไม่มี
อาการหรือมีอาการเพียงเล็กน้อย ไปจนถึงอาการรุนแรงน าไปสู่การติดเชื้อในกระแสเลือดได้รุนแรงน าไปสู่การติดเชื้อในกระแสเลือดได้
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะแบบไม่ซับซ้อน
(uncomplicated UTI) คือ การติดเชื้อในผู้ป่วยที่มีสุขภาพแข็งแรงโดยมีหน้าที่หรือโครงสร้างของระบบทางเดินปัสสาวะ
ปกติ
• การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะแบบซับซ้อน (complicated UTI) คือการติดเชื้อ
ในผู้ป่วยที่อ่อนแอ หรือ มีโครงสร้างและหน้าที่ของระบบทางเดินปัสสาวะผิดปกติ
อุบัติการณ์และระบาดวิทยา
•ระบบทางเดินปัสสาวะอักเสบพบบ่อยมากใน
ผู้หญิงมากกว่าผู้ชายเนื่องจากท่อปัสสาวะผู้หญิงสั้นก่าวผู้ชาย
•ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียและผู้ป่วยที่เคยมี
การอักเสบสามารถเกิดการติดเชื้อได้อีก ในการ
ติดเชื้อใหม่เป็นสาเหตุจากแบคทีเรียต่างชนิดกัน
มากกว่าชนิดเดิม
พยาธิสรีรวิทยา
•เมื่อมีการติดเชื้อขึ้นในระบบทางเดินปัสสาวะ เชื้อจะเข้าไปในบริเวณท่อไตซึ่งจะกระตุ้นท่อ
ไตให้บีบตัว เชื้อบางชนิด เช่น E.coli จะหลั่ง endotoxin ซึ่งมีผลต่อ αadrenergic nerve ในกล้ามเนื้อเรียบ ท าให้การท างานของท่อไตลดลงและมีการ
ขยายตัวของท่อไต ก่อให้เกิดภาวะ physiologic obstruction และเกิด intrarenalreflux ได้ง่ายขึ้นท าให้เชื้อจับกับ receptor ที่บริเวณ collecting duct และ
proximal tubules ท าให้เกิด acute pyelonephritis ตามมานอกจากนี้แบคทีเรีย
เชื้อแบคทีเรียสามารถเข้าสู่ระบบทางเดินปัสสาวะได้ 3 ทางคือ
1.การติดเชื้อย้อนกลับขึ้นไปจากท่อปัสสาวะ (ascending infection)
2.เชื้อโรคกระจายตัวมาทางกระแสเลือด (hematogenous route)
3.เชื้อโรคกระจายมาทางกระแสน้ าเหลือง (lymphatic route)
อาการและอาการแสดงของ UTI
•ขึ้นกับต าแหน่งของการติดเชื้อเป็นส าคัญ
•แบ่งอาการออกตามต าแหน่งที่มีการติดเชื้อเป็น upper และ lowertract UTI
Upper UTI
2 more items...
นิ่วระบบทางเดินปัสสาวะ
นิ่วทางเดินปัสสาวะ หมายถึง การรวมตัวจับ
เป็นก้อนผลึกของสารที่ละลายอยู่ในน้ าปัสสาวะกับสารคอลลอยด์ ซึ่งเป็นโปรตีนที่ละลายอยู่ในน้ าปัสสาวะ
นิ่วทางเดินปัสสาวะ หมายถึง การรวมตัวจับ
เป็นก้อนผลึกของสารที่ละลายอยู่ในน้ าปัสสาวะกับสารคอลลอยด์ ซึ่งเป็นโปรตีนที่ละลายอยู่ในน้ าปัสสาวะ
สาเหตุของการเกิดนิ่ว
1.สาเหตุความผิดปกติที่เกี่ยวกับภายในตัวผู้ป่วยเอง
1.1 พันธุกรรม
1.2 อายุและเพศ
1.3 ความผิดปกติในการท างานของต่อม พาราไทรอยด์ ซึ่งหลั่งฮอร์โมนที่ควบคุม
สารแคลเซียมออกมามากกว่าปกติ
1.4 มีการตีบแคบของระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งอาจมีมาแต่ก าเนิด หรือเกิดขึ้น
1.5 ความเข้มข้นของน้ าปัสสาวะ เช่น ผู้ป่วยดื่มน้ าน้อยกว่าปกติ หรือเสียน้ าจาก
ร่างกายมากกว่าปกติ
1.6 ความเป็นกรด - ด่างของน้ าปัสสาวะ
1.7 การอักเสบติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
1.8 สิ่งแปลกปลอมที่หลุดเข้าไปในทางเดินปัสสาวะ1.9 ยาบางอย่าง เช่น ยาลดกรดที่กินเป็นเวลานาน
2.สาเหตุที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของผู้ป่วย
2.1 สภาพภูมิศาสตร์ เช่น ภาคเหนือ และภาคอิสาน2.2 สภาพอากาศและฤดูกาล
2.3 ปริมาณน้ าดื่ม
2.4 สภาพโภชนาการ การกินอาหารพวกเครื่องในสัตว์
ยอดผัก สาหร่าย จะท าให้เกิดกรดยูริคสูง การกินอาหาร
2.5 อาชีพ ผู้ที่มีอาชีพเกษตรกร ท าไร่ ท านา จะเสียเหงื่อ
มาก ท าให้ปัสสาวะมีความเข้มข้น เกิดการตกผลึกของ
สาเหตุเกี่ยวกับลักษณะของน้ าปัสสาวะ
ปกติน้ าปัสสาวะมีส่วนประกอบของ เกลือ ฟอสเฟตหรือคาร์บอเนตของแคลเซี่ยม แมกนีเซียม หรือแอมโมเนีย
น้ าปัสสาวะสามารถละลายสารตกผลึก (Cystalliod)
ได้จนถึงจุดอิ่มตัว (Saturated polution) และน้ าถ้าเมื่อไหร่เกิดความไม่สมดุล ของสารตกผลึกกับสาร
คอลลอยด์ จะมีการรวมตัวตกผลึกเป็นนิ่ว
ชนิดของนิ่ว
1) แคลเซียมออกซาเลท
2) แคลเซียมฟอสเฟต (calcium phosphate)
3) แมกนีเซียม แอมโมเนียมฟอสเฟต (magnesium ammonium phosphate)
มักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย โปรเตียสไมราบิลิส (proteus mirabilis)
พยาธิสรีรวิทยาของการเกิดนิ่ว
•การท าหน้าที่ของไตลดลง เมื่อมีการอุดกั้นที่ไต หรือ ท่อไต อาจจะอุดกั้นบางส่วนหรือ
ทั้งหมดท าให้ไตขับถ่ายของเสียลดลง (Decrease excretory function)
•การระคายเคืองเฉพาะที่ ก้อนนิ่วเมื่อเกิดขึ้นที่ไต จะท าให้มีการเปลี่ยนแปลงเฉพาะที่ของ
เนื้อไต จากการศึกษาทางพยาธิสรีรวิทยาพบว่า การอักเสบท าลายเยื่อบุผิวพังผืดเกิดขึ้น นอกจากนี้ การอุดตันจากก้อนนิ่วจะท าให้เกิดการโป่งพอง ขยายใหญ่ของ
Calyx และ pelvis ในที่สุดเนื้อเยื่อไตจะถูกท าลาย•การติดเชื้อที่เกิดขึ้นร่วมกับนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ มีหนองเกิดขึ้นเป็นหย่อมๆเนื้อไต
จะซีดและมีขนาดเล็กลง มีผลท าให้ เกิดการท าลายเนื้อเยื่อไตอย่างรวดเร็ว
• 13.1 Uro : Infection : cystitis,UTI
Non infection : lithiasis, CA bladder, neurogenic bladder
การติดเชื้อของกระเพาะปัสสาวะ (cystitis)
คือ การอักเสบของผนังกระเพาะปัสสาวะ (inflammatory) มักมี
สาเหตุจากการติดเชื้อที่เกิดขึ้นบริเวณผนังของกระเพาะปัสสาวะ
• เชื้อ แบคทีเรีย E. Coli ร้อยละ 80
• จากเชื้อรา (Fungal)
• แบคทีเรีย แกรมลบ Staphylococi
• แบคทีเรีย แกรมลบ Neisseria gonorrhea
• แบคทีเรีย แกรมลบ Tricomonas vaginaris
สาเหตุกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis)
• การมีก้อนนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
• การคาสายสวนปัสสาวะ• กายวิภาคของท่อทางเดินปัสสาวะของเพศหญิง
ที่ท าให้มีอัตราการติดเชื้อที่สูงกว่าเพศชาย
• การมีเพศสัมพันธุ์ ซึ่งเป็นถ่ายทอดเชื้อโรคสู่เพศ
ตรงข้าม (exposure)
• การฉายรังสี (radiation)
พยาธิสรีรวิทยากระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis)
• เมื่อมีการติดเชื้อเกิดขึ้น จะมีการอักเสบของกระเพาะ
ปัสสาวะชั้นmucosa และ submucosa เท่านั้น
• เนื้อเยื่อจะบวมแดงทั่วไปหรือเป็นหย่อมๆบางแห่งอาจมี
เลือดออก เนื่องจากการฉีกขาดของเนื้อเยื่อที่ขยายตัวมากขึ้น เมื่อมีการบวม และมีการอุดกั้นของทางเดิน
ปัสสาวะส่วนล่างร่วมด้วย
• หากไม่ได้รับการรักษาจะกลายเป็นการอักเสบเรื้อรัง
มีการลุกลามไปกล้ามเนื้อรอบๆ กระเพาะปัสสาวะ
ภาวะแทรกซ้อนกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis)
• ต่อมลูกหมากอักเสบ
• กรวยไตอักเสบ
• นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
การติดเชื้อของกระเพาะปัสสาวะ (cystitis)
1 more item...
การประเมินภาวะสุขภาพ กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis)
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ พบ WBC ,RBC
ท าการเพาะเชื้อพบแบคทีเรียจ านวนมาก
การพยาบาล
1 more item...
นิ่วในไต (renal calculi, RC)
• ถ้านิ่วก้อนใหญ่หรือเป็นแบบชนิดกิ่ง
(staghorn calculus)
-จะไม่มีการเคลื่อนที่ มีรูปร่างคล้ายลักษณะของ
กรวยไต
-นิ่วชนิดนี้จะไม่เกิดการอุดตันในทันที
-ไม่มีอาการเลย ถ้าก้อนนิ่วโตขึ้นเรื่อยๆเต็มกรวยไตและขณะเดียวกันก้อนนิ่วครูดกับเส้นเลือดที่ไตและ
กรวยไตจนบาดเจ็บเป็นแผลมีเลือดออกมากับน้ า
ปัสสาวะ
อาการและอาการแสด
• ถ้ามีการอุดกั้นเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ผู้ป่วยจะมีอาการปวดมาก
จนดิ้น (colicky pain) • ปวดที่สีข้างหรือด้านหลังอาจปวดร้าวลงมาที่อวัยวะสืบพันธุ์หรือหน้าขา
• ปัสสาวะเป็นเลือด
• การตรวจร่างกายมักจะกดเจ็บบริเวณไตข้างนั้น
• ในรายที่เป็นเรื้อรัง มักมีไตบวมน้ า (hydronephrosis)• เมื่อการอุดกั้นยังไม่ได้รับการแก้ไข เนื้อไตและเนื้อกรวยไตถูกกดจึงขาดเลือด
เฉพาะที่ ไตและกรวยไตจึงเกิดการอักเสบ ติดเชื้อได้ง่าย
นิ่วในหลอดไต (ureteric calculi, UC)
• ก้อนนิ่วมักหลุดมาจากไต ส่วนใหญ่มักเกิดการอุดกั้นเพียงบางส่วน
ตำแหน่งที่เกิดการอุดกั้น ที่สำคัญ 3 ตำแหน่ง คือ
-ตรงรอยต่อของกรวยไตกับท่อไต (ureteropelvic junction)
-บริเวณที่ท่อไตพาดผ่านเส้นเลือดไอลิแอค (pelvic brim)
-รูเปิดของท่อไตเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ
(ureterovesical junction)
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ (vesical calculi, VC)
• ส่วนมากเกิดการอุดกั้นที่คอปัสสาวะ (bladder neck)
มักเกิดการคั่งค้างของปัสสาวะร่วมกับการติดเชื้อ
อาการและอาการแสดงนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
• ผู้ป่วยมีอาการถ่ายปัสสาวะล าบาก
• ปวดเอวหรือปวดหลัง ปวดท้อง• บางรายมีอาการปัสสาวะหยุดไหลอย่างกระทันหันขณะที่
ก าลังถ่าย
• เมื่อก้อนนิ่วเลื่อนมาอุดที่ทางออกของกระเพาะปัสสาวะ การ
อุดกั้นต าแหน่งนี้มีผลรบกวนการท างานของไตได้ทั้ง 2 ข้าง
• พบปัสสาวะสีเหลืองเข้มปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะขุ่น มี
แบคทีเรีย หนองและตกตะกอนแขวนลอย (Crystals)
การตรวจวินิจฉัย
1 more item...
หลักการดูแลผู้ป่วยให้ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน
หลังการรักษานิ่วโดยการผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด ที่อาจพบได้บ่อยคือ
-การตกเลือด
-การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะจากเศษนิ่ว
-การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
-มีรูทะลุเข้าไปในทางเดินปัสสาวะ
-มีการฉีกขาดหรืออักเสบของทางเดินปัสสาวะ
หลักการดูแลผู้ป่วยให้ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน
หลังการรักษานิ่วโดยการผ่าตัด
การเตรียมผู้ป่วยทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
2.อธิบายและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษา pre-post op
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการระบายปัสสาวะทางสายยางต่าง ๆ ที่เหมาะสม
โดยยึดหลักปราศจากเชื้อ
ดูแลและป้องกันภาวะตกเลือดหลังผ่าตัด โดยการสังเกตบาดแผล ท่อ
ระบายสายยาง ปัสสาวะที่สวนคาไว้ บันทึกสัญญาณชีพเป็นระยะเพื่อบ่งชี้ถึงอาการแสดงของภาวะตกเลือด
บันทึกจ านวนสารน้ าที่ได้รับและที่ขับออกจากร่างกายในแต่ละวัน
การดูแลเกี่ยวกับบาดแผล เพื่อป้องกันและลดการติดเชื้อ โดยเฉพาะบาดแผลที่
มีเลือด และน้ าปัสสาวะซึมออกมาอยู่ตลอดเวลา
การลดความเจ็บปวดหลังผ่าตัดและอาการปวดจากการมีปัสสาวะคั่งค้าง
ควรหาสาเหตุและแก้ไข
รายงานแพทย์ถ้ามีเลือดออกมากและมีลิ่มเลือดอุดตันในทางเดินปัสสาวะ
หรือสายยางระบายปัสสาวะ
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยฟื้นฟูสภาพโดยเร็ว (early ambulation)
กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ ามาก ๆ อย่างน้อย 3,000 ซีซีต่อวัน
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการสลายนิ่ว (ESWL)
• ประโยชน์ของเครื่องสลายนิ่ว
-ใช้สลายนิ่วขนาดไม่เกิน 2 เซนติเมตร
-สามารถก าจัดนิ่วในไต โดยไม่ต้องผ่าตัดและไม่มีรอยแผลเป็น
-ผู้ป่วยจะไม่เจ็บปวดเหมือนการผ่าตัดทั่วไป จึงไม่ต้องดมยาสลบ
• ข้อห้ามในการสลายนิ่ว
ผู้ป่วยที่ก าลังตั้งครรภ์
ผู้ป่วยที่มีเส้นเลือดแดงในช่องท้องโป่งพอง
• การเตรียมตัวก่อนเข้ารับการตรวจ
งดน้ า งดอาหาร กาแฟ ชา ช็อคโกแลต น้ าอัดลม
บุหรี่และเครื่องดื่มคาเฟอีนก่อนเข้ารับการตรวจอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
คัดกรองคนไข้โดยแพทย
อาการภายหลังท าการสลายนิ่ว
1 สลายนิ่วแล้วนิ่วที่แตกเป็นก้อนเล็กๆ จะออกมาปนกับน ้าปัสสาวะซึ่งอาจมี
เลือดปนออกมาด้วย ปัสสาวะจะเป็นลักษณะนี้อยู่ประมาณ 2-3 วัน หลังท า
2บางรายอาจมีคลื่นไส้ อาเจียน
3.อาการไข้
4อาการปวด
นิ่วไม่ควรมีขนาดโตเกินไป โดยรวมแล้วนิ่วในไตไม่ควรโตเกิน 2.5 ซ.
ม. นิ่วในท่อไตไม่ควรโตเกิน 1-1.5 ซ.ม.
นิ่วไม่ควรเป็นชนิดแคลเซียมออกซาเลตโนโนไฮเดรต หรือนิ่วซีสตีน
เพราะไม่ตอบสนองกับการรักษา3. ไม่มีการอุดตันของทางเดินปัสสาวะในส่วนที่อยู่ต่ ากว่าก้อนนิ่ว
ไตด้านที่มีนิ่ว และต้องการสลายนิ่วนั้น ควรจะยังท างานได้เป็นปกติ
นิ่วที่มีการอักเสบร่วมด้วย เช่น มีไข้ปัสสาวะเป็นหนอง ฯลฯ เพราะเมื่อ
นิ่วกระจาย จะท าให้มีการติดเชื้อในกระแสเลือดได้
นิ่วในท่อไตส่วนกลาง หรือส่วนที่กระดูกบัง
นิ่วที่กรวยไตที่ติดแน่นกับผนัง8. นิ่วที่มีการอุดตันของท่อไตร่วมด้วย
นิ่วเขากวาง (staghorn) เพราะนิ่วชนิดนี้ใหญ่มาก
ผู้ป่วยที่มีรูปร่างใหญ่ น้ าหนักมากและอ้วน
13.1 Uro : Non infection : lithiasis, CA bladder,
neurogenic bladder
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ
การอุดกั้นของระบบทางเดินปัสสาวะ หมายถึง การ
ขัดขวางการไหลของปัสสาวะ อาจเกิดขึ้นได้ตั้งแต่บริเวณไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ ปัสสาวะที่ขังอยู่ท าให้มีการเปลี่ยนแปลง
หน้าที่การท างานของไต
ชนิดของการอุดกั้น
แบ่งตามลักษณะการอุดกั้น
1.1 Partial obstruction
1.2 Complete obstruction อุดกั้นอย่าง
สมบูรณ์ น้ำปัสสาวะไม่สามารถไหลผ่านลงไป
จำแนกตามต าแหน่งที่เกิด
2.1 การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะส่วนบน
2.2 การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
ส่วนล่าง
พยาธิสรีรวิทยาของการอุดกั้นในระบบทางเดินปัสสาวะ
การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นเหนือต าแหน่ง
ที่อุดกั้น
เมื่อมีน้ าปัสสาวะขัง จะมีแรงดันเพิ่มขึ้น
เหนือต าแหน่งที่มีการอุดกั้น
การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจะมีทั้งทางด้าน
รูปร่างและหน้าทีการอุดกั้นในระยะแรก
ถ้าการท างานทดแทนเสียไป การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นจะเกิดขึ้นได้
มากน้อยขึ้นกับว่า การอุดกั้นเกิดขึ้นถ้าไตข้างหนึ่งเสียหน้าที่ ไตข้างที่เหลือ
จะท าหน้าที่ทดแทนจนเท่ากับการท างานของไต 2 ข้าง
หลักการรักษา
แก้ไขปัญหาปัสสาวะคั่งเฉียบพลัน โดยที่แก้ไขที่สาเหตุนั้นๆ
ระบายน้ าปัสสาวะเหนือต าแหน่งที่มีการอุดกั้น เพื่อลดการคั่งค้างของน้ าปัสสาวะ และแก้ไขภาวะอุดกั้น
ขจัดการติดเชื้อ เมื่อแก้ไขสาเหตุ การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ (Bladder cancer)
สาเหตุ
ปัจจัยเสี่ยง คือ การสูบบุหรี่, เป็นนิ่วเรื้อรัง, สัมผัสสารเคมี
นานๆ, กินเนื้อปิ้งย่าง, อาหารไขมันสูง, ชายผิวขาวสูงอายุ, ติดเชื้อพยาธิบางชนิด
อาการและอาการแสดง
•ปัสสาวะเป็นเลือด
•บางครั้งอาจมีอาการคล้ายกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
การตรวจวินิจฉัยมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
• การซักประวัติและการตรวจร่างกาย ซึ่งอาจพบอาการปัสสาวะเป็นเลือด กระเพาะปัสสาวะ
อักเสบ และอาจพบว่ามีภาวะซีด อ่อนเพลีย และเหนื่อยง่ายจากการมีเลือดออก
• การตรวจปัสสาวะ (Urinalysis)
• การตรวจเลือดซีบีซี (CBC) การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
• การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
• การตรวจหาเซลล์มะเร็งในน้ าปัสสาวะ (Urine cytology)
• การตรวจไตและทางเดินปัสสาวะโดยการฉีดสี (Intravenous pyelogram – IVP)