Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4.3 กระบวนการบำบัดและเทคนิคการให้การปรึกษาทางสุขภาพจิต
บทที่4.4…
บทที่4.3 กระบวนการบำบัดและเทคนิคการให้การปรึกษาทางสุขภาพจิต
บทที่4.4 กลุ่มกิจกรรมบำบัด และนิเวศน์บําบัด
ความหมายของการให้การปรึกษา
- การให้คำปรึกษา (Counseling) เป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ เพื่อการบำบัดระหว่างผู้ให้การปรึกษา และผู้รับบริการปรึกษา
- ปัจจัยบำบัด คือ ความไว้วางใจ (trust) และการเสริมสร้างพลังอำนาจ (empower)เพื่อให้ผู้รับบริการการปรึกษาเกิดความรู้สึกปลอดภัย
(safety) และเชื่อมั่น (confidence)
- มีวัตถุประสงค์หลักคือ ช่วยให้ผู้รับบริการปรึกษาได้มีโอกาสสำรวจ มองเห็น รู้จัก เข้าใจปัญหา สาเหตุ และความต้องการที่แท้จริงของตนเอง สามารถดึงศักยภาพของตนเองออกมาใช้ในการแก้ไขปัญหาส่วนบุคคลและ ปัญหาที่ตนเองมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่น
ลักษณะของการให้การปรึกษา
- เป็นการบำบัดช่วยเหลือทางด้านจิตสังคม
- ลักษณะเป็นกระบวนการ (process) และความเป็นพลวัต (dynamic)
- มุ่งเน้นสัมพันธภาพเชิงบำบัด (relationship therapy)
- มีหลักการและเทคนิคเฉพาะของการให้ปรึกษา
- มุ่งเน้นความเป็นปัจจุบันในลักษณะ “ที่นี่และเดี๋ยวนี้ (here and now)”
- ไม่มีค าตอบหรือทางออกที่สำเร็จรูปและตายตัวในกระบวนการให้การปรึกษา
เป้าหมายของการให้การปรึกษา
1.เป้าหมายด้านพัฒนา (developmental goals)
2.เป้าหมายด้านการป้องกัน (preventive goals)
- เป้าหมายด้านการส่งเสริม (enhancement goals)
4.เป้าหมายด้านการบรรเทา (remedial goals)
5.เป้าหมายด้านการสำรวจ (exploratory goals)
6.เป้าหมายด้านการเสริมแรง (reinforcement goals)
7.เป้าหมายด้านการรู้คิด (cognitive goals)
8.เป้าหมายด้านกายภาพ (psysiological goals)
9.เป้าหมายด้านจิตใจ (psychological goals)
คุณลักษณะของผู้ให้การปรึกษา
- ผู้ให้การปรึกษาที่มีประสิทธิภาพควรมีเอกลักษณ์ คือ รู้ว่าตนเองคือใครมีความสามารถที่จะทำอะไรได้บ้าง
- ผู้ให้การปรึกษาควรจะนับถือตนเองและมองเห็นคุณค่าตนเอง คือ มีความสามารถในการให้ความช่วยเหลือ และให้ความรักแก่บุคคลอื่น
- ผู้ให้การปรึกษาควรจะตระหนักและยอมรับพลังความสามารถของตนเอง คือ มีความรู้สึกว่ามีขีดความสามารถที่จะช่วยเหลือผู้อื่น
- ผู้ให้การปรึกษาควรจะเปิดเผยตัวตนเองต่อการเปลี่ยนแปลง คือ แสดงความเต็มใจและกล้าที่จะก้าวออกจากที่ที่รู้สึกว่าปลอดภัย
- ผู้ให้การปรึกษาควรจะเลือกทางเลือกเพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบชีวิตของตนเอง คือ การตระหนักรู้ในสิ่งที่ตนเองเคยตัดสินใจมาแล้วเกี่ยวกับตนเองผู้อื่น
- ผู้ให้การปรึกษาควรจะรู้สึกมีชีวิตชีวาและสร้างทางเลือกที่มุ่งส่งเสริมชีวิตที่ดี คือ การยึดมั่นในการด ารงชีวิตอย่างเบิกบานโดยไม่จมปลักอยู่กับสิ่งที่เป็นอยู่
- ผู้ให้การปรึกษาควรจะมีความจริงแท้จริงใจและซื่อสัตย์ คือ การไม่ปกปิดซ่อนเร้น
- ผู้ให้การปรึกษาควรมีอารมณ์ขัน คือ สามารถมองเห็นเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตในด้านที่รื่นรมย์
- ผู้ให้การปรึกษาท าผิดพลาดได้และเต็มใจที่จะยอมรับความผิดพลาดคือ ไม่ควรเมินเฉยต่อความผิดพลาด
- ผู้ให้การปรึกษาควรจะด าเนินชีวิตอยู่กับปัจจุบัน คือ ไม่ยึดติดกับอดีตหรืออนาคต
- ผู้ให้การปรึกษาควรจะส านึกถึงคุณค่าของอิทธิพลทางวัฒนธรรม คือการตระหนักรู้ว่าตนเองได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมของตน
- ผู้ให้การปรึกษาคนสนใจอย่างจริงใจต่อสวัสดิภาพของผู้อื่น คือ การให้ความเคารพนับถือใส่ใจไว้วางใจค่านิยมที่ผู้อื่นยึดถือ
- ผู้ให้การปรึกษาควรจะเอาใจใส่ในงานของตนเองอย่างถ่องแท้และแสวงหาความหมายจากงานของตนเอง
- ผู้ให้การปรึกษาควรจะคงไว้ซึ่งขอบเขตความเป็นส่วนตัวอย่างสมบูรณ์ถึงแม้ว่าจะเพียรพยายามอยู่กับผู้รับการปรึกษาอย่างเต็มที่
ขั้นตอนของกระบวนการให้การปรึกษา
- ระยะที่ 1 คือระยะเริ่มต้นของการให้การปรึกษา (initial phase)
- ระยะที่ 2 คือระยะดำเนินการให้การปรึกษา (working phase)
- ระยะที่ 3 คือระยะของการยุติการให้การปรึกษา (terminate phase)
กลุ่มกิจกรรมบำบัด
ประโยชน์ของการจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด
- ได้เรียนรู้และฝึกทักษะการสร้างสัมพันธภาพ
- ลดการมีพฤติกรรมแยกตัว และการหมกมุ่นครุ่นคิดเรื่องต่างๆ
- ได้รับการยอมรับ สนับสนุน การให้กำลังใจจากผู้นำกลุ่ม
- มีโอกาสในการเสนอวิธีการ หรือความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์
เพิ่มความมีคุณค่าในตัวเอง
- มีโอกาสเล่าระบายความรู้สึก ปัญหาต่างๆ
- พัฒนาการเรียนรู้ต่างๆ เช่น ผู้ป่วยทดสอบพฤติกรรมที่ปรับเปลี่ยนใหม
- เกิดความรู้สึกว่าตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม และมีความสำคัญ
ต่อกลุ่ม
ชนิดของกลุ่มกิจกรรมบำบัด
1. กลุ่มชุมชนบำบัด (Group Therapeutic Community or Goup T.C.)
- เป็นกลุ่มที่มีการประชุมร่วมกันของผู้ป่วยและบุคลากรในทีมการรักษาทั้งหมด
- ช่วยให้บุคลากรเข้าใจผู้ปุวยมากขึ้น ถ้าผู้ป่วยเข้าใจไม่ถูกต้องจะได้มีโอกาสในการชี้แจงเหตุผล
- ช่วยให้ผู้ปุวยได้สนใจสิ่งแวดล้อมที่อยู่ รับรู้ว่าตนเองมีส่วนร่วม มีโอกาสแสดงความคิดเห็น
2. อาชีวะบำบัด (Occupational Therapy)
- เป็นกลุ่มกิจกรรมที่ให้ผู้ปุวยได้ท างาน อาจเป็นงานอาชีพหรือไม่ใช่ก็ได้
- งานหัตถกรรม เช ่น การประดิษฐ์ของใช้จากเศษวัสดุ งานเย็บปักถักร้อย
- อุตสาหกรรมบำบัด เช่น การทอเสื้อ ทำไม้แขวนเสื้อ ตุ๊กตา
เครื่องประดับ เย็บเสื้อผ้า
- กสิกรรมบำบัด เช่น การปลูกพืชไร่ ไม้ดอกไม้ประดับ ผักสวนครัว
3. นันทนาการบำบัด (Recreational Therapy)
- เป็นการจัดกิจกรรมบันเทิงให้ผู้ป่วยได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน
- กิจกรรมที่ผู้ปุวยได้รับความบันเทิงจากผู้อื่น เช่น ชมการแสดง ฟัง
เพลง ดูหนัง ดูโทรทัศน์
- กิจกรรมที ่ผู้ป ุวยได้กระท าด้วยตนเอง เช ่น ร้องเพลง เต้นร า เล ่น
เกม กีฬาในร่ม กีฬากลางแจ้ง
4. กลุ่มการศึกษา (Group Education)
- เป็นกลุ่มที่ให้โอกาสผู้ป่วยได้รับความรู้ ได้รับข่าวสาร ทันต่อความ
เปลี่ยนแปลงในสังคม
- ความรู้ที่ผู้ป่วยได้รับอาจจะเป็นเรื่องทั่วไปในสังคม ความรู้รอบตัว
ข่าวสารบ้านเมือง เศรษฐกิจ เกษตร ศาสนา สุขภาพ ความงาม
- ผู้ปุวยจะได้ฝึกสมาธิ ความตั้งใจที่จะฟัง ได้ทบทวนความรู้ความจำกล้า
แสดงความคิดเห็นวิพากษ์วิจารณ
- เป็นการนำข่าวสาร บทความ ความรู้ต่างๆ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร
อินเตอร์เน็ต
- เป็นกลุ่มที่ผู้ปุวยได้นำความรู้เดิมที่มีอยู่มาแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน เช่น
กลุ่มทายปัญหา กลุ่มแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้ต่างๆ
5. สังคมสังสรรค์ (Social Meeting)
- เป็นกลุ่มที่ให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้และฝึกทักษะการเข้าสังคม รู้วิธีการ
ปรับตัวหรือการวางตัวให้เหมาะสมเมื ่อเข้ากับสังคมหรือบุคคลอื่น
- การจัดกิจกรรมวันปีใหม่ สงกรานต์ ลอยกระทง กีฬาสี นอกจากนี้
อาจจัดไปนอกสถานที่ เช่น ทัศนศึกษา จัดปิกนิก
- การฝึกการแสดงบทบาทสมมติ หรือ Role play เพื่อให้ผู้ปุวยได้
ฝึกซ้อมก่อนที่จะพบสถานการณ์จริง
6. กลุ่มเสริมแรงจูงใจ (Group Remotivation)
- เป็นกลุ่มที่มุ่งฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วย และปูองกันไม่ให้เกิดการ
เสื่อมถอยทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
- กิจกรรมนี้เหมาะกับผู้ป ุวยเรื้อรัง หรือผู้ป ุวยที ่มีพฤติกรรมถอย
กลับไปเป็นเด็ก
- เป็นกิจกรรมที ่จัดขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยได้รื้อฟื้นความรู้ความจำเก่าๆ
รวมทั้งการเพิ่มความรู้ใหม่ๆ
- มีกิจกรรมหลายรูปแบบ ทั้งเข้ากลุ่มทบทวนแลกเปลี่ยนความรู้ การ
จัดสถานการณ์ การสอนและสาธิต ตลอดจนการลงมือทำด้วยตนเอง
7. ดนตรีบำบัด (Musical Therapy)
- เป็นกลุ ่มที ่ใช้ดนตรีเป็นสื่อช่วยส่งเสริมและฟื้นฟูให้ผู้ป่วยสนใจ
สิ่งแวดล้อมมากขึ้น
- ช่วยผ่อนคลายความเครียด เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
นอกจากนั้น
- ควรเลือกเครื่องดนตรีที่ไม่ต้องอาศัยความสามารถพิเศษ เช่น
เครื่องเขย่า ตี หรือเคาะเพื่อให้เกิดจังหวะ หรือการร้องเพลง
นิเวศน์บําบัด
แนวคิดและหลักการ
- เกิดจากการผสมผสานแนวคิดหลายรูปแบบเข้าด้วยกัน เช่น แนวคิดการรักษาทางด้านชีวภาพ แนวคิดการรักษาทางด้านสังคม
- หลักการที่สําคัญคือ การส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสเรียนรู ้จากสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว เช่น การเรียนรู้ในเรื่องการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคลากร
- มุ้งเน้นให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจวางแผนการดูแลและรักษาอาการเจ็บป่วย ตลอดจนออกแบบสิ่งแวดล้อมภายในหอผู้ป่วยด้วยตนเอง
องค์ประกอบของนิเวศน์บําบัด
- ความปลอดภัย (safety)
- โครงสร้าง (structure)
- บรรทัดฐานทางสังคม (norms)
- ความสมดุล (balance)
- การจํากัดสิทธิและพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช (limit setting)
การจํากัดสิทธิและพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช
- มีพฤติกรรมรุนแรง เช่น อาละวาด ก้าวร้าว คลุ้งคลั่ง
- มีพฤติกรรมการทําร้ายร่างกายตนเองและผู้อื่น
- มีภาวะเพ้อ มึนงง สับสน
- มีความคิดหนีออกจากโรงพยาบาล
การผูกยึดผู้ป่วย (PHYSICAL RESTRAINTS)
- การผูกยึดผู้ป่วยเป็นการจํากดการเคลื่อนไหวของผู้ป่่วยเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ตามต้องการ
- อุปกรณ์มีลักษณะแข็งแรง อ่อนนุ่ม เช่น หนัง หรือผ้า
- ใช้ในกรณีผู้ป่วยมีพฤติกรรมรุนแรง ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมอาการของตนเองได้ มีภาวะเพ้อ สับสน
แนวทางการผูกยึดผู้ป่วย
- ประเมินพฤติกรรมเสี่ยงที่ทําให้เกิดอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น
- แกไขเบื่องต้นก่อนการตัดสินใจผูกยึด เช่น การพยายามพูดคุย หรือการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปตําแหน่งที่สามารถเฝ้าระวังหรือดูแลง่าย
- ประเมินหลังจากให้การแนะนําเบื้องต้น หากไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมผู้ป่วยได้ จึงตัดสินใจผูกมัด
- พิจารณาเลือกวิธีการผูกยึด ในการเลือกการผูกยึดควรใช้การผูกยึดร่างกายให้น้อยที่สุด
- ปฏิบัติการผูกยึดอย่างรวดเร็วถูกต้องตรงตามหลักการ
- ลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดผลข้างเคียงจากการผูกยึด เช่น การบาดเจ็บของเส้นประสาท การบาดเจ็บจากการขาดเลือด ควรสังเกตอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
-