Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพเกี่ยวกับหู ตา จมูก คอ, image, image, image,…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพเกี่ยวกับหู ตา จมูก คอ
โรคหู
anatomy
หูชั้นนอก (External ear or Outer ear)
ใบหู (pinna)
ช่องหู หรือ รูหู (Ear canal)
แก้วหู (Ear drum or Tympanic
membrane)
หูชั้นกลาง (Middle ear)
กระดูกภายในในหูชั้นกลาง (Ossicular chain)
กระดูกฆ้อน (Mulleus)
กระดูกทั่ง (Incus)
กระดูกโกลน (Stapes)
กล้ามเนื้อของหูชั้นกลาง (Middle ear muscle)
เส้นประสาทที่ผ่านหูชั้นกลาง
หูชั้นใน (Inner ear)
ส่วนที่ทำหน้าที่รับเสียง (Cochlear portion)
ส่วนที่ทำหน้าที่ในการควบคุมการทรงตัว
(Vestibular portion)
การได้ยินเสียง
สามารถรับฟังเสียงได้ตั้งแต่ 20-20,000
Hz
เสียงที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 125-8,000
Hz ซึ่งจะใช้ในการทดสอบการได้ยิน
อาการสำคัญ
ปวด OTALGIA หรือEARACH
ของเหลวไหล otorrhea
3.หูอื้อ ได้ยินลดลง hearing loss
เสียงดังรบกวนในหู tinnitus aurium
เวียนศีรษะ บ้านหมุน Vertigo or dizziness
การตรวจหู
Otoscope
TUNNING FORK
โรคของหู
สิ่งแปลกปลอมเข้าหู
สิ่งมีชีวิต เช่น แมลง
การพยาบาล
เห็บ มด จะกัดแน่น ใช้แอลกอฮอล์ 70%
หยอดลงไปฆ่า แล้วค่อยล้าง หรือคีบออก
แมลงปีก แมลงสาป ใช้น้ำหยอดเข้าในรูหู
สิ่งไม่มีชีวิต หิน ดิน กรวด เมล็ด พืช สำลี เม็ดพลาสติก
การพยาบาล
ให้ใส่น้ำเพิ่มจนเต็มหู กดติ่งหน้าหูน้ำรวมกันแล้วตะแคงออก
วัตถุก้อนกลม เล็กๆ ให้ล้างออก
วัตถุเป็นแผ่นเล็กๆ ชิ้นบาง ให้คีบออก
การล้างหู
syringe 20 cc.
น้ำอุ่น ±7 °c
ดึงใบหูส่วนบนไปด้านหลัง
ฉีดน้ำอุ่นเข้าในรูหู เบาๆ
Hearing loss
Conductive hearing loss คนที่ชี้หูอุดตัน แก้วหูทะลุ รักษาด้วยยาและการผ่าตัด
Sensorineural hearing los ประสาทรับ ฟังเสียงบกพร่อง หรือประสาทหูเสื่อม เกิดจากการแพ้ยา รักษาไม่ค่อยได้
Mixed hearing loss การนำเสียงและประสาทรับฟังบกพร่อง รักษาได้บ้าง
Functional or psychological hearing loss ผิดปกติที่ด้านจิตใจต้องรักษาทางจิตเวช
Central hearing loss สมองส่วนกลางทำให้เสียงที่รับฟังจากหูผ่านประสาทไปเมื่อมาถึงสมองไม่สามารถ รับและแปลความหมายได้
เครื่องช่วยฟัง (Hearing aids)
Microphone ทำหน้าที่รับเสียงเข้า
Amplifier ทำหน้าที่ขยายพลังงานไฟฟ้าที่ส่งผ่านมาจากไมโครโฟน
Earphone ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าจาก amplifier
ชนิดของเครื่องช่วยฟัง
ชนิดติดกับตัว (Body type hearing aids)
ชนิดติดไว้กับหู หรือศีรษะ (ear level type)
แบบทัดหลังใบหู (behind the ear hearing aids)
แบบแว่นตา (Eye glasses aids)
แบบช่อนไว้ในหู (In the ear aids)
ชนิดที่ผ่านกระดูกหู (Bone conduction hearing aids)
ชนิดตั้งโต๊ะ (Table type hearing aids)
การดูแลรักษาเครื่องช่วยฟัง
ควรเช็ดทำความสะอาด
ห้ามโดนน้ำ
ห้ามทำเครื่องหล่นพื้น
อย่าพยายามแกะหรือเปิดเครื่องเอง
ควรถอดถ่านออกจากตัวเครื่อง
การดูแลผู้ป่วยที่สูญเสียการได้ยิน
การช่วยเหลือด้านจิตใจ
การช่วยเหลือด้านการติดต่อสื่อสาร
ให้ใช้เครื่องช่วยฟังเป็นประจำ
ถ้าไม่ได้ยินเลยต้องส่งอรรถบำบัด
โรคตา
การประเมิน
การตรวจร่างกายส่วนองค์ประกอบของตาที่
มองเห็นได้
การตรวจโดยใช้เครื่องมือพิเศษ
การวัดสายตา (visual acuity)
การวัดความดันลูกตา (tonometry) การตรวจโดย
ใช้มือกดTactile tension
การส่องตรวจภายในลูกตาด้วย
ophthalmoscope
การตรวจตาด้วย (slit lamp)
การตรวจลานสายตา (visual field
examination)
การตรวจกล้ามเนื้อตา (ocular muscles
examination)
การตรวจตาบอดสี (color blindness examination)
การวินิจฉัยโรคด้วย DNA
โรคตา
กุ้งยิง
External hordeolum / stye
Internal hordeolum
สาเหตุ
เกิดจากต่อมไขมันที่โคนตามีการอุดตันและเกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย
อาการ
ปวดที่เปลือกตา ปวดตุบๆบริเวณที่เป็น เป็นตุ่มแข็งแตะถูกเจ็บ
การรักษา
ประคบด้วยน้ำอุ่นจัดๆ
ให้ใช้ยาหยอดตาหรือป้ายตา
ถ้าเป็นหัวหนอง ควรสะกิดหรือผ่าเอา หนองออก แล้วให้กินยาปฏิชีวนะ
เยื่อบุตาขาวอักเสบ Conjunctivitis
เยื่อยุตาอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
สาเหตุ Strep.epidermidis, Staph.aureus
ติดต่อโดยการสัมผัส
ใช้ยาป้ายตาหรือหยอดตา ยาปฏิชีวนะ
เยื่อยุตาอักเสบจากเชื้อไวรัส
สาเหตุ ติดเชื้อไวรัส เช่น adenovirus ติดต่อโดยการสัมผัสน้ำตาโดยตรง
ใช้ยาป้ายตาหรือหยอดตา ยาปฏิชีวนะ
เยื่อบุตาอักเสบจากการแพ้
สาเหตุ จากการแพ้ เช่น ฝุ่น ควัน เกสรดอกไม้
ให้ antihistamine เช่น Hista-oph eye drop ,Alomide eyedrop
EYE INJURY
Cornea ulcer
การเกิดแผลของกระจกตา อาจเกิดจากอุบัติเหตุหรือการที่เยื่อบุขั้นนอกสุดของกระจกตามีความต้านทานต่ำทำให้เกิดการตายของเนื้อเยื่อกระจกตา และถ้ามีการติดเชื้อร่วมด้วยก็จะเกิดหนองและเนื้อเยื่อกระจกตาหลุดลอกจนเกิดแผลของกระจกตาเกิดขึ้น
Retinal detachment
ภาวะตามัวที่เกิดจากการหลุดลอกระหว่างชั้นเส้นใยประสาทกับชั้นเม็ดสี
สาเหตุการเสื่อมของจอประสาทตาหรือน้ำวุ้นตา โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงทำให้เส้นเลือดเปราะ
การรักษา
เป็นการใช้แสงเลเซอร์ผ่านรูม่านตาที่ขยาย
cryotherapy or retinal cryopexy เป็นการใช้ความเย็นจี้ด้านนอกผ่านลูกตา
Pneumatic retinopexy เป็นการทำ cryotherapy โดยการฉีดแก๊สที่ขยายตัวได้เข้าไปในน้ำวุ้นตาใกล้ที่มีพยาธิสภาพ
Buckling operation การดันให้จอประสาทตาที่ลอกหลุดกลับเข้าที่โดยใช้แรงดันจากภายนอกผ่านตาขาว
Vitrectomy วิธีตัดน้ำวุ้นตา ใช้ในรายที่มีรอยฉีกขาดของจอประสาทตาร่วมกับวุ้นตาขุ่น
Cataract ต้อกระจก
การขุ่นของแก้วตา
สาเหตุ
ผู้สูงอายุ ปัจจัยทางด้านสุขภาพ ได้แก่ พันธุกรรม ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การรักษา
Intracapsular cataract extraction (ICCE)
Extracapsular cataract extraction (ECCE)
Extracapsular Cataract Extraction with Intraocular Lens (ECCE c IOL)
Phacoemulsification with Intraocular Lens ( PE c IOL)
ต้อหิน (glaucoma)
ปวดตา ตามัว กระจกตาบวม เห็นเป็นสีรุ้งรอบ ดวงไฟ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ความดันลูกตาสูง
การรักษา
การใช้ยาหดรูม่านตา
การทำผ่าตัด
การตัด Trabecular meshwork ร่วมกับตาขาว
ครึ่งหนึ่งเหมาะสำหรับต้อหินชนิดมุมเปิด
Peripheral iridectomy ( PI ) การตัดม่านตาให้เป็รู
Cyclotherapy การผ่าตัดทำลาย cilliary body
Goniotomy การใช้เครื่องมือกรีดที่มุมของช่องหน้าม่านตาเพื่อให้เนื้อเยื่อที่หนาตัวผิดปกติที่มุมม่านตาขาดออกมักทำในผู้ป่วยต้อหินแต่กำเนิด
lazer trabeculoplasty
Tonsils
Acute tonsillitis
พบในเด็กมากกว่าในผู้ใหญ่
สาเหตุ : เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
อาการและอาการแสดง
เจ็บคอ ไข้สูง อาจถึง 40.5 °C หนาวสั่น เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ อ่อนเพลียเจ็บคอมากเมื่อกลืนอาหาร ปวดร้าวมาที่หู
การพยาบาล
ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดื่มน้ำ อย่างน้อย 2,500 cc./day
รักษาความสะอาดช่องปากและฟันด้วยน้ำเกลืออุ่นๆ
ถ้าเจ็บมาก ให้ยาอมที่มียาชา
Chronic tonsillitis
เกิดขึ้นเนื่องจากการอักเสบเฉียบพลันบ่อย
อาการและอาการแสดง
เนื้อเยื่อของทอนซิลจะโตขึ้น ขรุขระ แดง มีเม็ดหนองสีขาวคล้ายเม็ดข้าวเขี่ยออกได้มีกลิ่นเหม็น หูอื้อ หูน้ำหนวก ถึงขั้นแก้วหูทะลุได้
ถ้าต่อมทอนซิลโตมาก จะกลืนลำบาก พูดไม่ชัด
การรักษาพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ กลุ่ม penicillin
ทำความสะอาดช่องปาก
ถ้าเป็นบ่อย แนะนำให้ทำผ่าตัด
Tonsillectomy
จมูกและ โพรงไซนัส
Epistaxisเลือดกำเดา
สาเหตุการบาดเจ็บ เนื้องอกของจมูกหลอดเลือดในจมูกฉีกขาด
Anterior epistaxis
Posterior epistaxis
การพยาบาล
จัดให้นอนท่า ศีรษะสูง หรือนั่งก้มหน้า
ประคบเย็นที่สันจมูก
NASAL PACKING
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ และให้ความร่วมมือ
ระหว่างทำ จะมีการดูดเอาเลือดออกก่อน เพื่อใส่
gauze packing
หลังใส่ nasal packing แล้ว ถ้าใส่ทั้ง 2 ข้างผู้ป่วยจะต้องหายใจทางปาก
และปากจะแห้ง
แปรงฟันได้ หากมีแผลในปากกลั้วคอด้วยน้ำยาบ่อยๆ หลีกเลี่ยงน้ำยาที่มี
แอลกอฮอล์
ดูแลให้นอนยกหัวสูง 45-60 องศา เพื่อลดอาการ
บวมบริเวณจมูก
Nasal polyp
ริดสีดวงจมูก หมายถึง การที่มีเนื้องอกของเยื่อ
บุจมูก หรือไซนัส ทำให้ช่องจมูกแคบ
อาการเช่นเดียวกับเป็นหวัด
การรักษาพยาบาล
Caldwell-Luc Operation หรือ Ethmoidectomy
SINUSITIS
เป็นโรคที่มีการอักเสบ ของเยื่อบุไซนัสข้างจมูก มีการ
ติดเชื้อเข้าไปสู่ไซนัส
สาเหตุ : เกิดจากกลไกการขนถ่ายสิ่งคัดหลั่งออกจาก
ไซนัสผิดปกติ
Acute sinusitis
เกิดขึ้นหลังจากเป็นหวัด ว่ายน้ำ น้ำสกปรกเข้าจมูก
ใช้ยาบรรเทาปวด ลดอาการบวมโดยใช้ยาหยอด
Chronic sinusitis
สาเหตุ 1.รักษา acute sinusitis ไม่ได้ผล ฟันกรามบนผุ
อาการและอาการแสดง
มีน้ำมูกข้น มูกปนหนอง
การรักษาพยาบาล
Caldwell-Luc operation หรือ Functional endoscopic sinus surgery (FESS)
ANTROSTOMY
เป็นการเจาะรูระหว่างจมูกกับ maxillary sinus เพื่อเปิดทางระบายสิ่งคัดหลั่ง
CA NASOPHALYNX
สาเหตุ : ไม่ทราบชัดเจน
อาการที่ควรซักประวัติ
การรับประทานอาหารเป็นประจำ
ตรวจหลังโพรงจมูกพบก้อนเนื้องอก
การตรวจเลือดหา Ebstein-Barr Virus (EBV)
การจัดระยะของมะเร็งหลังโพรงจมูก
Stage 1 อยู่ในโพรงจมูกข้างเดียว มองไม่เห็นก้อนเนื้อ แต่ผลตรวจชิ้นเนื้อ ได้ผลบวก
Stage 2 ก้อนเนื้องอกเต็มทั้งข้างหลังและข้างหน้า
Stage 3 ก้อนเนื้องอกขยายไปยังช่องจมูกและช่องคอ ต่อมน้ำเหลืองข้างคอโตไม่เกิน 3 cm.
Stage 4 ก้อนเนื้องอกลุกลามไปสมอง และเส้นประสาทสมอง หรือมีต่อมน้ำเหลืองโต กระจายไปสู่อวัยวะที่อยู่ไกล
การรักษาพยาบาล
รังสีรักษา ได้ผลดีในระยะ ที่ 1-2
รังสีรักษา ร่วมกับเคมีบำบัด ระยะที่ 3 -4
เลเซอร์ Photo-dynamic therapy (PDT)
การผ่าตัด ทำเฉพาะในรายที่ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
CA LARYNX
สาเหตุ : ร่างกายได้รับสารรบกวน ที่รบกวนต่อ
เยื่อบุกล่องเสียงเป็นเวลานาน
ระยะแรกเสียงไม่แหบ ต่อมามีเสียงแหบ เจ็บร้อนในคอ ไอ เนื่องจากสำลักน้ำลาย กลืนลำบาก เจ็บเวลากลืน
การวินิจฉัย
การส่องกล้อง
การทำ barium swallowing, CT scan ,MRI
การรักษา
การผ่าตัด กล่องเสียง
การฉายรังสี
การดูแลหลังผ่าตัด
ดูแลการหายใจ การจัดการกับเสมหะ จัดท่านอนศีรษะสูง 30-40 องศา
การฝึกพูด
การใช้เครื่องช่วยพูด (electro-larynx)
การพูดโดยใช้หลอดอาหาร (esophageal
speech)
การทำผ่าตัดใส่กล่องเสียงเทียม (prosthetic voice restoration)