Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจ, นายสพลดนัย อิสรานนท์ยามี…
หน่วยที่ 7 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจ
ความหมายของภาษีอากร
ภาษีอากรเป็นเงินที่รัฐบาลจัดเก็บโดยวิธีออกกฎหมายบังคับ ภาษีอากรเป็นเงินที่รัฐบาลเก็บมาเพื่อนำมาใช้ประโยชน์แก่ส่วนรวม ผู้เสียภาษีอากรไม่ได้รับผลประโยชน์ตอบแทนเป็นพิเศษเฉพาะตัว
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
บุคคลธรรมดา (มาตรา 56 วรรค 1 และ มาตรา 57)
ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล (มาตรา 56 วรรค 2)
ผู้ถึงแก่ความตายก่อนถึงกำหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการและเสียภาษี (มาตรา 57 ทวิ วรรค 1)
กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง (มาตรา 57 ทวิ วรรค 2)
กฎหมายที่ควบคุมการประกอบการ
ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
พระราชบัญญัติความรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551
ประมวลรัษฎากร
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บรรพ ๓ ลักษณะ ๒๒ หุ้นส่วนและบริษัท
หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป มาตรา ๑๐๑๒ - มาตรา ๑๐๒๓
หมวด ๒ ห้างหุ้นส่วนสามัญ มาตรา ๑๐๒๕ - มาตรา ๑๐๗๖
หมวด ๓ หุ้นส่วนจำกัด มาตรา ๑๐๗๗ - มาตรา ๑๐๙๕
หมวด ๔ บริษัทจำกัด มาตรา ๑๐๙๖ - มาตรา ๑๑๓๘
กฎหมายที่ควบคุมการประกอบการ
ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
พระราชบัญญัติความรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551
ประมวลรัษฎากร
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บรรพ ๓ ลักษณะ ๒๒ หุ้นส่วนและบริษัท
หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป มาตรา ๑๐๑๒ - มาตรา ๑๐๒๓
หมวด ๒ ห้างหุ้นส่วนสามัญ มาตรา ๑๐๒๕ - มาตรา ๑๐๗๖
หมวด ๓ หุ้นส่วนจำกัด มาตรา ๑๐๗๗ - มาตรา ๑๐๙๕
หมวด ๔ บริษัทจำกัด มาตรา ๑๐๙๖ - มาตรา ๑๑๓๘
ประมวลรัษฎากร
ปัจจุบันภาษีอากรที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมสรรพากรดำเนินการจัดเก็บมีดังนี้
ภาษีเงินได้
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
อากรแสตมป์
การยื่นแบบแสดงรายการ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนต้องยื่นแบบ ภ.พ. 30 พร้อมกับชำระภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นรายเดือนทุกเดือนภาษี ไม่ว่าจะการขายสินค้า หรือบริการในเดือนภาษีนั้นหรือไม่ก็ตาม โดยยื่นแบบภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
สถานที่ยื่นแบบ
เขตกรุงเทพให้ยื่นแบบ ณ. สำนักงานสรรพากรเขตในเขตท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ เขตจังหวัดอื่นให้ยื่นแบบ ณ สำนักงานสรรพากรอำเภอ หรือกิ่งอำเภอในท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เสียภาษีกับถิ่นที่อยู่และแหล่งเงินได้
แหล่งที่มาของเงินได้พึงประเมินที่ต้องเสียภาษี
แบ่งออกเป็น ๒ กรณี
กรณีแหล่งเงินได้เกิดในประเทศไทย หรือหลักแหล่งเงินได้ (source rule) (มาตรา ๔๑ วรรค ๑)
ผู้มีเงินได้จากแหล่งในประเทศใด ต้องเสียภาษีให้กับประเทศนั้น
กรณีแหล่งเงินได้เกิดขึ้นนอกประเทศ หรือหลักถิ่นที่อยู่ (residence rule) (มาตรา ๔๑ วรรค ๒ วรรค ๓)
ผู้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศใด (ไม่น้อยกว่า 180 วัน) ต้องเสียภาษีให้กับประเทศนั้นไม่ว่าจะได้รับเงินได้จากแหล่งในประเทศใด
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มแบ่งออกเป็น
๑) ผู้ประกอบการ
๒) ผู้นำเข้า
กิจการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
๑) การขายสินค้า หรือการให้บริการในทางธุรกิจ หรือวิชาชีพในราชอาณาจักร
๒) การนำเข้าโดยผู้นำเข้า (มาตรา ๗๗/๒)
แหล่งเงินได้ในประเทศไทย (มาตรา 41 วรรค 1) หรือหลักแหล่งเงินได้ กรณีผู้มีเงินได้ตามมาตรา ๔๐ ในปีภาษีที่ล่วงมาแล้วเนื่องจาก
๑) หน้าที่งานที่ทำในประเทศไทย
๒) กิจการที่ทำในประเทศไทย
๓) กิจการของนายจ้างในประเทศไทย
๔) ทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศไทย
แหล่งเงินได้นอกประเทศ (มาตรา 41 วรรค 2 และ 3) หรือหลักถิ่นที่อยู่ กรณีผู้มีเงินได้ตามมาตรา ๔๐ ในปีภาษีที่ล่วงมาแล้วเนื่องจาก
๑) เป็นผู้อยู่ในประเทศไทยชั่วระยะเวลาหนึ่ง หรือหลายระยะเวลารวมเวลาทั้งหมดถึง ๑๘๐ วันในปีภาษีใด
๒) มีเงินได้พึงประเมินเนื่องจาก
๒.๑) หน้าที่งานที่ทำในต่างประเทศ
๒.๒) กิจการที่ทำในต่างประเทศ
๒.๓) ทรัพย์สินทอยู่ในต่างประเทศ
๓) นำเงินได้ที่เกิดขึ้นในปีภาษีเข้ามาในประเทศไทย
การหักค่าลดหย่อน
ผู้มีเงินได้ 60,000 บาท
ภรรยา 60,000 บาท
บุตรที่แท้จริงคนละ 30,000 บาท
บุตรบุญธรรมคนละ 30,000 บาท แต่ไม่เกิน 3 คน
เบี้ยประกันชีวิตหักได้ตามจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท
ประกันสุขภาพบิดามารดาของผู้มีเงินได้ และคู่สมรส 15,000 บาท
เงินสะสมกองทุนสำรองเพื่อการเลี้ยงชีพหักได้ตามจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท
ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัยหักได้ตามจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท
เงินสมทบที่ผู้ประกันตนจ่ายเข้ากองทุนประกันสังคมคม หักได้ตามจริง
ค่าอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดาคนละ 30,000 บาท
เพื่ออุปการะเลี้ยงดูคนพิการ เป็นค่าอุปการะเลี้ยงดูคู่สมรส บิดามารดา บุตรชอบด้วยกฎหมายหรือบุตรบุญธรรม โดยหักได้ คนละ 60,000 บาท
ซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวม เพื่อการเลี้ยงชีพหักได้ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้พึงประเมินที่ได้รับในปีภาษีนั้น แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
ซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาวหักได้ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้พึงประเมินที่ได้รับในปีภาษีนั้น แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
เงินบริจาคหักได้ตามจริง แต่ไม่เกิน 10% ของเงินได้ หลังจากหักค่าใช้จ่าย และหักค่าลดหย่อนต่าง ๆ แล้ว
เงินบริจาคเพื่อสนับสนุนด้านการศึกษา และโรงพยาบาล ให้หักได้ 2 เท่าของจำนวนที่จ่ายไปจริง
นายสพลดนัย อิสรานนท์ยามี รหัส6111056990111 sec B