Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วัณโรค (Tuberculosis) ภป-วัณโรคปอด - Coggle Diagram
วัณโรค (Tuberculosis)
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ระบบการหายใจของผู้ป่วยวัณโรคมักไม่พบความผิดปกติ หรือหากพบก็ไม่เฉพาะเจาะจง แต่บางครั้งอาจฟังพบเสียง Crepitations (rales หรือ crackles) หรือเสียง bronchial breath Sounds หรือลักษณะ whispered pectoriloquy บริเวณปอดที่มีพยาธิสภาพผิดปกติแบบ Consolidation
ตรวจพบเสียง amphoric เป็นเสียงหายใจที่เหมือนกับเสียงที่เป่าลมเข้าไปในเหยือกน้ํา พบในภาวะที่มีโพรงในเนื้อปอด
ตรวจพบการเคาะทึบและการสั่นสะเทือนลดลงที่ผนังทรวงอกอาจบ่งบอกถึงภาวะ น้ําในช่องเยื่อหุ้มปอด หรือภาวะเยื่อหุ้มปอดหนาตัว
ตรวจพบเสียงหายใจลดลงข้างใดข้างหนึ่ง ร่วมกับเสียง rhonchi ข้างเดียวกันพบในภาวะ endobronchial tuberculosis
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
การตรวจเสมหะ
การตรวจเสมหะเพื่อดู acid-fast bacilli (AFB) ด้วยการส่องกล้องจุลทรรศน์ การตรวจ AFB ใช้การย้อมสี carbolfuchsin ด้วยวิธี Ziehl-Neelsen
การเพาะเชื้อเป็นวิธีตรวจมาตรฐานเพื่อวินิจฉัยวัณโรคซึ่งสามารถช่วยวินิจฉัยวัณโรคได้แม้ว่า มีเชื้อปริมาณน้อย (10-100 ตัวต่อมลD) และย้อมไม่พบเชื้อ AFB อีกทั้งยังสามารถทดสอบความไวของเชื้อวัณโรคต่อยารักษาและวินิจฉัยแยก
การตรวจทางอณูชีววิทยาเพื่อหาสารพันธุกรรมของเชื้อวัณโรคในเสมหะ(nucleic acid amplification test) ช่วยวินิจฉัยวัณโรคปอดที่มีความแม่นยําค่อนข้างสูง วิธีการตรวจนี้เรียกว่า Xpert MTB/RIF assay
ตรวจพบเสียงหายใจลดลงข้างใดข้างหนึ่ง ร่วมกับเสียง rhonchi ข้างเดียวกันพบในภาวะ endobronchial tuberculosis
-
-
-
การตรวจภาพรังสีทรวงอก
-
Reactivated tuberculosis ภาพรังสีทรวงอกของผู้ป่วยมักพบความผิดปกติของเนื้อปอดที่บริเวณ apex และ posterior segments ของกลีบปอดบนและ Superior segment ของกลีบปอดล่าง
Miliary tuberculosis ภาพรังสีทรวงอก ส่วนใหญ่เป็นจุดขาวขนาดเล็กเท่าๆ กันแต่ละจุดเล็กกว่า 2 มมบปริมาณมากกระจายอยู่ทั่วไปในเนื้อปอดทั้งสองข้างเรียกว่า military in-filtration
อาการและอาการแสดง
-
ระยะแสดงอาการ
เชื้อแบคทีเรียได้รับการกระตุ้นจนแสดงอาการออกมาเกิด ขึ้นได้ตั้งแต่ในช่วงสัปดาห์แรก ๆ หลังจากการติดเชื้อ
-
-
-
-
-
-
-
-
พยาธิสภาพ
เมื่อบุคคลใดที่มีภูมิต้านทานต่ํา สูดเอาละอองที่มีเชื้อมัยโคแบคทีเรียทูเบอร์คิวโลซิส เชื้อจะเข้าไปในถุงลมซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการระคายเคือง ระบบภูมิคุ้มกันจะทําหน้าที่ส่งเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์และแมกโครฟาจมาล้อมเชื้อไว้เพื่อช่ว ยทําลายเชื้อหรือสร้างเกราะหุ้มเชื้อไว้เป็นถุงหุ้มเชื้อ เรียกว่า กูเบอร์เคิล (Tubercle) ทําให้ต่อมน้ําเหลืองบวมและอักเสบซึ่งเชื้อจะยังมีชีวิตอยู่โดยหลบซ่อนอยู่ในภูเบอร์เคิลบริเวณส่วนขนของปอดหรือใกล้ๆ เยื่อหุ้มปอดกลีบล่าง หากทูเบอร์เคิลและต่อมน้ําเหลืองที่อักเสบแตกหรือฉีกขาด เชื้อจะเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อบริเวณนั้น และเชื้ออาจจะกระจายไปตามกระแสเลือดและทางเดินน้ําเหลืองไปทั่วร่างกาย
การติดต่อ
-
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
-
-
-
-