Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่9, ต้อกระจก 775CC544-8E64-4A24-9F0A-1B329BFC837B - Coggle Diagram
บทที่9
การพยาบาลผู้ป่วยโรค หู
หูชั้นนอก (External ear or Outer ear)
ใบหู (pinna)
ช่องหู หรือ รูหู (Ear canal)
แก้วหู (Ear drum or Tympanic membrane)
หูชั้นกลาง (Middle ear)
กระดูกภายในในหูชั้นกลาง (Ossicular chain) กระดูกฆ้อน (Mulleus)
กระดูกทั่ง (Incus)
กระดูกโกลน (Stapes)
. กล้ามเนื้อ ของหูชั้นกลาง (Middle ear muscle)
เส้นประสาทที่ผ่านหูชั้นกลาง
หูชั้นใน (Inner ear)
ส่วนทที่ทำหน้าที่ปรับเสียง (Cochlear portion)
.ส่วนที่ทำหน้าที่ในการควบคุมการทรงตัว (Vestibular portion)
การได้ยินเสียง
ความสามารถในการรับฟังเสียง
สามารถรับฟังเสียงได้ตั้งแต่ 20-20,000 Hz
เสียงที่ใช้ในชีวิตประจําวัน 125-8,000 Hz ซึ่งจะใช้ในการทดสอบการได้ยิน
การตรวจหู
ปวด OTALGIA หรือ EARACH
2.ของเหลวไหล otrrhea
3.หูอื้อ ได้ยินลดลง hearing loss
เสียงดังรบกวนในหู tinnitus aurium
5.เวียนศีรษะ บานหมุน Vertigo or dizziness
โรคของหู
โรคของหูชั้นอก
เช่น มีรูที่หน้าหู ถุงน้ำมะเร็ง สิ่งแปลกปลอมเข้าหู ขี้หูอุดตัน ฝี การอักเสบ แก้วหูทะลุ
สิ่งแปลกปลอมเข้าหู
มี 2 ชนิด คือ
สิ่งมีชีวิต เช่น แมลง
สิ่งไม่มีชีวิต หิน ดิน กรวด เมล็ด พืช สําลี เม็ดพลาสติก
การพยาบาล
สําหรับสิ่งมีชีวิต
เห็บ มด จะกัดแนน ใช้แอลกอฮอล์70% หยอดลงไปฆ่า แล้วค่อยล้าง หรือคีบออก
แมลงปก แมลงสาป ใชนํ้าหยอดเข้าในรูหู จนเต็ม มันจะออกมาเอง ถาไมออกให้ใช้วิธี เดียวกันกับ มด และเห็บ
สิ่งไม่มีชีวิต
นํ้า ให้ใส่นํ้าเพิ่มจนเต็มหู กดติ่งหน้าหู ให้นํ้ารวมกันแล้วตะแคงออก
วัตถุก้อนกลม เล็กๆ ให้ลางออก
วัตถุเป็นแผ่นเล็กๆ ชิ้นบาง ให้คีบออก
การดูแลผู้ป่วยที่สูญเสียการได้ยิน
การช่วยเหลือด้านจิตใจ
การช่วยเหลือด้านการติดต่อสื่อสาร ใช้ กิริยาท่าทางในการสื่อสาร ก่อนการสนทนา เตรียมผู้ป่วยให้พร้อมที่จะฟัง ยืนตรงหน้า ใหเเห็นปาก อย่าตะโกน หรือพูดเสียงดัง เกินไป พูดช้าๆชัดๆ พูดใกล้หูข้างที่ดีกว่า หลีกเลี่ยงการใช้คําเดี่ยว
ให้ใช้เครื่องช่วยฟังเป็นประจํา
ถ้าไม่ได้ยินเลยต้องส่งอรรถบําบัด เพื่อฝาก การอ่านริมฝีปาก
การดูแลรักษาเครื่องช่วยฟัง
ทุกครั้งงหลังการใช้งาน ควรเช็ดทำความสะอาด
ห้ามโดนน้ำหรือถ้ากรณที่ เครื่องโดนน้ำ ควรรีบนําถ่านออกจากเครื่อง [และทาํเครื่องให้แห้ง
ห้ามทาํเครื่องหล่นพื้น เพราะอาจทาํให้วงจรภายในเสียหายได้
อย่าพยายามแกะหรือเปิดเครื่องเอง
ทุกครั้งหลังการใช้งาน ควรถอดถ่านออกจากตัวเครื่อง และเกบ็ ไว้ใน กระปุกดูดความชื้น
ขี้หูอุดตัน
(Impacted cerumen)
ขี้หูตามปกติจะไหลออกมาภายนอกเอง ไม่จําเป็นต้องแคะออก การแคะจะดันขี้หูให้เข้าลึกไปอัดกันมากๆ เกิดการอุดตันขึ้น
เมื่อเกิดการอุดตันจะมีอาการหูอื้อ ปวดหู ไม่สบายในหู ตรวจหูจะมองเห็นขี้หูอัดกัน มอง ไม่เห็นเยื่อแก่วหู
การรักษา : การล้างออก ถ้าแข็งมากใช้ Glycerine borax หรือ 7.5% sodium bicarbornate หยอดหูวันละ 2-3 ครั้ง นาน
การอักเสบ
การอักเสบของหูชั้นนอก เกิดจากเชื้อต่าง ๆ ดังนี้
เชื้อแบคทีเรีย เรียก Bactrial otitis เกิดจาก พฤติกรรมการแคะหู ด้วยอุปกรณ์ที่ไม่สะอาด เช่น กิ๊บ เล็บ ผิหนังในช่องรูหูจะ ถลอก และติดเชื้อตามมา หรือนํ้าสกปรก เข้าหู เชื้อที่สําคัญ ได้แก่
Pseudomonas aeruginosa 2. staphylococcus aureus
อาการ
เจ็บในหู เมื่อขากรรไกรเคลื่อนไหว หรือ กดหน้าหูจะ เจ็บมาก มีไข้อ่อนเพลีย ต่อนํ้าเหลืองหลังหูโต กดเจ็บ ช่องหูบวมแดง
การรักษา
ดูดเอาหนองออก
หยอดยาปฏิชีวนะ ผสม ไฮโดรคอร์ติโซน วันละ 4
กรณีที่มีการอักเสบเฉียบพลัน ต้องกินยาปฏิชีวนะ
เช่น erythromycin หรือ pennicillin นาน 7-10 วัน
ถ้ามีหนองไหล บวมมาก อาจต้องได้ยาป้าย เป็น antibiotic ointment
งูสวัด Herpes zoster
อาการแสดง จะมีการอักเสบรุนแรง ไข้สูง ปวดแสบปวดร้อน มีตุ่มใสในช่องหู และใบ หู การอักเสบอาจลุกลามไปที่
ประสาทคู่ที่ 7 (Facial nerve) ทําให้เกิด อัมพาตของใบหน้า (facial paralysis) Bell palsy
หูชั้นกลางก็จะทําลายประสาทการรับ ฟังเสียงทําให้หูหนวก เรียกว่า herpes zoster oticus หรือ Ramsay Hunt syndrome
โรคของหูชั้น กลาง
สาเหตุ ถูกตบหู ถูกตี ถูกแทง การถูกกระแทก
อาการและอาการแสดง เจ็บ แก้วหูมีรอยฉีกขาด มีเลือดออก การได้ยินเสียงเสียไปแบบ conductive hearing loss บางรายอาจะมีเสียงดังในหู หรือเวีย งนศีรษะร่วมด้วย เนื่องหูชั้นในได้รับการกระทบกระเทอืน
การรักษา
ถ้าแก้วหูท่ีขาดนั้นสะอาด และฉีกขาดไม่ใหญ่จนเกินไป จะติดเองภายใน 2-3 วัน หรือเป็นสัปดาห์
หากเกิดจากอุบัติเหตุ ดูแลดังน้ี
2.1 ไม่ต้องหยอดยาใดๆ
2.2 ไม่ต้องลเางหู ไม่ให้นํ้าเข้าหู 2.3 ไม่รบกวนใดๆภายในช่องหู
2.4 กินยาแก้ปวดเมื่อยปวด
2.5 พบแพทย์เพื่อทำาตัดแก้ไขส่วนท
การติดเชื้อของตา
กุ้งยิง
► ความหมาย กุ้งยิง (Hordeolum) หมายถึง ตุ่มฝี
เล็กๆที่เกิดที่ขอบเปลือกตา แบ่งเป็น 2 ชนิด
► External hordeolum / stye เป็นการอักเสบของ
ต่อมเหงื่อบริเวณผิวหนังตรงโคนขนตา
► Internal hordeolum เป็นการอักเสบของต่อม ไขมันบริเวณเยื่อบุเปลือกตา
สาเหตุ
เกิดจากต่อมไขมันที่โคนตามีการ อุดตันและเกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย
อาการ
อาการ ปวดที่เปลือกตา ปวดตุบๆบริเวณที่ เป็น เป็นตุ่มแข็งแตะถูกเจ็บ บางครั้งมี หนองนูนเป็นงหัวขาวๆ เหลืองๆ รอบๆนูน แดงและกดเจ็บ
การรักษา
เมื่อเริ่มขึ้นใหม่ๆ ประคบด้วยนํ้าอุ่นจัดๆ
ให้ใช้ยาหยอดตาหรือป้ายตาที่ผสมยา
ปฏิชีวนะถ้าหนังตาบวมแดงหรือมีต่อมนํ้า เหลืองหน้าหูโตรปวมด้วย ให้กินยาปฏิชีวนะ
ถ้าเป็นหัวหนอง ควรสะกิดหรือผ้าเอา หนองออก แล้วให้กินยาปฏิชีวนะ
เยื่อบุตาขาวอักเสบ Conjunctivitis
เป็นการอักเสบติดเชื้อของเยื่อบุตา แบ่งเป็น 3 ชนิด ตามสาเหตุ
เยื่อยุตาอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย 2. เยื่อยุตาอักเสบจากเชื้อไวรัส
เยื่อบุตาอักเสบจากการแพ
เยื่อยุตาอักเสบจากเชื้อ แบคทีเรีย
► Bacterial Conjunctivitis
► สาเหตุ เชื้อ Strep.epidermidis, Staph.aureus
► ติดต่อโดยการสัมผัส
อาการ ตาแดง หนังตาบวม มีขี้ตามากเป็นสีเหลือง หรือเขียว ไม่ฝาปวดหรือเคืองตา
การรักษา ใช้ยาป้ายตาหรือหยอดตา ยาปฏิชีวนะ เช่น Terramycin eye ointment, Poly-oph eyedrop. ถ้า หนังตาบวมมากให้กินยา Cloxacillin หรือ Erythromycin
หรือ Erythromycin
Viral Conjunctivitis
สาเหตุ ติดเชื้อไวรัส เช่น adenovirus ติดต่อโดยการสัมผัสนํ้าตาโดยตรง เล่นนํ้าในสระ
ว่ายนํ้า
อาการ ตาแดง เคืองตา หนังตาบวมเล็กน้อย มีขี้ตา เล็กน้อย
ต่อมนํ้าเหลืองหน้าหูโตอาจมีไข่มันร่วมวมด้วย การรักษา ใช้ยาป้ายตาหรือหยอดตา ยาปฏิชีวนะ
Allergic Conjunctivitis
อาการ
อาการ คันตามาก ตาบวม นํ้าตาไหล มักไม่มีขี้ ตา ตาแดงเล็กน้อย
สาเหตุ
เยื่อบุตาขาวอักเสบ จากการแพ้
สาเหตุ จากการแพร่ เช่น ฝุ่น ควัน เกสรดอกไม่ อากาศ เครื่องสําอาง โรคภูมิแพ้
การรักษา
ให้ antihistamine เช่น Hista-oph eye drop , Alomide eyedrop
ถ้าเป็นมากให้ยาแก้แพ้ เช่น CPM หลีกเลี่ยงสิ่ง ที่แพ
การป้องกัน
► 1. ลางมือดวยนํ้าและสบูให้สะอาดอยู่เสมอ
ไมทคลุกคลีใกลชิด หรือใช้สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย 3. ถ้ามีฝุ่นละออง หรือนํ้าสกปรกเข้าตา ควรล่างตา ดดวยนํ้าสะอาด
จมูกและ โพรงไซนัส
การะบาบาล
จัดใหนอนทา ศีรษะสูง หรือนั่งกมหนา เล็กนอย เพื่อไมใหเลือดไหลงคอ เพราะอาจ จะทําใหคล่ืนไส อาเจียน และไมสามารถ ตรวจดูจํานวนเลือดที่ออกได
วัดสัญญาณชีพ
ถาเลือดไมออกมากใหบีบจมูกนาน 5-8
นาที และใหหายใจทางปาก 4. ประคบเย็นที่สันจมูก
การพยาบาลผูปวยที่ทํา
NASAL PACKING
อธิบายใหผูปวยเขาใจ และใหความรวมมือ
ระหวางทํา จะมีการดูดเอาเลือดออกกอน เพื่อใส
gauze packing
ใหผูปวยอาปากดูวา gauze packing หลุดลงไป
ในคอหรือไม และยังมีเลือดออกอีกหรือไม
เมื่อ pack เรียบรอยแลวใหนํา gauze ขนาด 4 x 4 พับครึ่งปดดานนอกอีกชั้นหนึ่ง
อาการและอาการแสดง
อาการเชนเดียวกับเปนหวัด
คันจมูก กอนโตมากจะคันมาก
เกิดการปดกั้น หายใจทางจมูกไมไดตองหายใจ ทางปาก
การไดกลิ่นลดลง หรือหายไป
ถาริดสีดวงขนาดใหญจนปดรูเปดไซนัส จะทําให ไซนัสอักเสบ หนองไมสามารถไหลออกมาได สะดวก ทําใหปวดศีรษะ บริเวณที่มีการอักเสบ
ถามี Choanal polyp ดวยจะทําใหหูอื้อ แบบ การนําเสียงผิดปกติ
ตรวจจมูกพบ inferior turbinate ซีด
การรักษา
ขจัดสาเหตุของโรค
ขจัดแหลงการติดเช้ือ รับประทานยาปฏิชีวนะ
อยางนอย 2 สัปดาห
ใหการถายเทของนํ้าหรือหนอง ภายในไซนัสไดดี ข้ึน โดยลดอาการบวมของเยื่อบุจมูก และไซนัส โดยใช antihistamine และ decongestant หรือโดย การเจาะลางไซนัส และการผาตัด antrostomy , endoscopic antrostomy , ethmoidectomy,
Caldwell-Luc operation หรือ Functional
endoscopic sinus surgery (FESS)
CALDWELL-LUC OPERATION
)
การดูแหลังการผ้าตัด
หลังผาตัดหนาจะบวม ขอบตาช้ํา เพราะได รับการกระทบกระเทือนจาการผาตัด
ดูแลใหนอนศีรษะสูง
3.ประคบเย็น เพ่ือบรรเทาอาการปวด และลด
บวม
บริเวณฟนและเหงือกจะชาไปหลายเดือน เพราะเสนประสาทถูกตัดขาด
ระวังการกระทบกระเทือนแผลในปาก
ภาวะแทรกซอนหลังทําผาตัด FESS
เป็นภาวะแทรกซ้อนทอีนัตราย
. เลอื ดออกสู่ลูกตา
. ตาบวม ตาบอด จากมกี ารกระทบกระเทอื นต่อ optic nerve
. เกดิ การรัวของน้าไขสันหลงั เนืองจากมกี ารทะลุของกระดูก ethmoid และ cribriform plate
ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ
ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจสวนบน 2. Periorbital abscess
Orbital cellulitis
Cavernous sinus thrombosis
เย่ือหุมสมองอักเสบ (Meningitis) 6. Epidural abscess
Brain abscess
มีถุงน้ํา หนอง ในไซนัส pyocele
สาเหตุ
ผู้สูงอายุ
ปัจจัยทางด้านสุขภาพ ได้แก่ พันธุกรรม ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน
การใช้ยาหรือสารพิษ เช่น ยาสเตอรอยด์ ยาขับปัสสาวะ ยาฆ่า เซลล์มะเร็ง ยาฆ่าแมลง
แก้วตาเทียม (Intraocular Lens)
นสิ่งประดิษฐ์ใช้แทนเลนส์ธรรมชาติมักทําจากสาร Polymethyl methaacrylate (PMMA) ซ่ึงไม่มี ปฏิกิริยากับเน้ือตาลักษณะแก้วตาเทียม ประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ
ส่วนที่เป็นแก้วตาเทียม (optical portion) ทําหน้าท่ี หักเหแสงให้ตกบนจอประสาทตา เพื่อให้เห็นภาพ ชัดส่วน
อาการแทรกซ้อนหลังผ่าตัดต้อกระจก
ความดันลูกตาสูง (Increase intraocular pressure) IOP เกิดจากการไอ การจาม การอาเจียน การก้มหน้า ตํ่ากว่าระดับเอว การยกของหนัก การบีบตา การ เบ่งถ่ายอุจจาระ และการนอนตะแคงทับข้างที่ผ่า คัด ความดันในลูกตาจะสูงมากกว่า 20 mmHg
การดึงรั้งของแผลเย็บ ( Stress on the suture Line) เมื่อ ความดันในลูกตาสูงจะทําใหแผลเย็บถูกดึงรั้ง
เลือดออกในชองหนามานตา (Hyphema) เกิดจาก การฉีกขาดฉีกขาดของเสนเลือดมานตา และ ซี เลียรีบอด
: เลียรีบอดี
การติดเชื้อ ( Infection) เกิดไดจากหลายสาเหตุตา ถูกนํ้า ผูปวยขยี้ตา
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัดต้อกระจก
•1. การพยาบาลเพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนตา ประคองศีรษะผู้ป่วยเมื่อเคลื่อนย้ายหลังผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อช่วยลดอาการปวดตาและให้พักหลับ ได้ให้ยาแกเปวดตามแผนการรักษา จัดทำานอนไม่นอน ทับบริเวณตาที่ได้รับการผ่าตัด จัดสภาพแวดล้อมลดสิ่ง รบกวน
การพยาบาลเพื่อปองกันการติดเชื้อที่ตา ภายหลังผาตัด
แนะนําการทําความสะอาดใบหนา ไมใหนํ้า เขาตาขางที่ทําผาตัด
เนนไมใหผูปวยเปดตา ใชนิ้วมือแยงตาหรือ ขยี้ตา
ใหปดผาปดตา และครอบที่ครอบตาตาม แผนการรักษาและตรวจสอบใหปดแนนไม เคลื่อนหลุด
ลางมือใหสะอาดทุกครั้ง ทั้งกอนและหลัง ใหการพยาบาล และปฏิบัติการพยาบาลอยางถูก
ต้อหิน
ชนิดของต้อหิน
ต้อหินชนิดปฐมภูมิ (primary glaucoma) เกิดจากความ ผิดปกติของทางเดินนํ้าเลี้ยงลูกตา
ต้อหินชนิดทุติยภูมิ (secondary glaucoma) เกิดตาม หลังโรคตาบางโรคหรือโรคภายนอกลูกตาก็ได้เป็นได้ทั้งมุมเป็ดและมุมปาด
ต้อหินโดยกําเนิด (congenital glaucoma) พบได้ตั้งแต่ แรกเกิด จากพันธุกรรม
อาการ
อาการ ปวดตา ตามัว กระจกตาบวม เห็นเป็นสีรุ้งรอบ ดวงไฟ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ความดันลูกตาสูง ลานสายตาแคบลง อาจเดินชนของ
การรักษา
การใช้ยาหดรูม่านตา จะส่งผลต่อกล้ามเนื้อหูรูด ม่านตาทําใหรูมานตาหดเล็กลง ทําให้มุมม่านตาเป็ด กว้าง กล้ามเนื้อ cilliary หดตัวทําให้น้ําเลี้ยงลูกตาไหล เวียนสะดวกเช่น
Sympathomimetic drugs ลดการสร้างนํ้าเลี้ยง ลูกตา เพิ่มการไหลเวียนโลหิต เช่น epinephrine
Carbonic anhydrase-inhibitors ลดการสร้าง นํ้าเลี้ยงลูกตา เชน acetazalamide (diamox)
2-4% pilocarpine
β-adrenergic blocking agent ลดการสร้างนํ้าเลี้ยง ลูกตา เช่น 0.25 และ0.5% timoptol
การทำการผ่าตัด
การตัด Trabecular meshwork ร่วมกับตาขาว ครึ่งหนึ่งเหมาะสําหรับต้อหินชนิดมุมเป็ด เป็นการ ผ่าตัดท่ีทําให้เกิดทางเช่ือมต่อระหว่าง ช่องหน้าลูก ตา กับช่องใต้เยื่อบุตา โดยแพทย์จะเจาะรูที่ผนังลูก ตา โดยเป็ดทางระบายนํ้าของลูกตาท่ีอยู่ข้างใน ออกมาอยู่ท่ีใต้เยื่อบุตา เพื่อลดความดันของลูกตา
Peripheral iridectomy ( PI ) การตัดม่านตา บริเวณฐานให้เป็นรู เพื่อเป็ดทางให้นํ้าเลี้ยงในลูก ตาจากช่องหลังลูกตาเข้าสู่ช่องหน้าลูกตาแล้ว ไหลเวียนตามปกตินิยมใช้ในต้อหินชนิดมุมปาด
Cyclotherapy การผ่าตัดทําลาย cilliary body ใช้ในผู้ที่มีต้อหินและรักษาโดยทางยาหรือ ผ่าตัดข้างต้นไม่ได้ผลหรือในผู้ป่วยที่เป็นต้อหิน
การพยาบาลทอนซิลอักเสบ
อาการและอาการแสดง
เจ็บคอ ไข้สูง อาจถึง 40.5 °C
หนาวสั่น เบื่ออาหาร
ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย
เจ็บคอมากเมื่อกลืนอาหาร ปวดร้าวมาที่ หู
อาการจะรุนแรงอยู่ 24-72 ชั่วโมง อาการจะค่อยๆทุเลาลง
การพยาบาล
ใหพักผอนอยางเพียงพอ
ดื่มน้ํา อยางนอย 2,500 cc./day
รักษาความสะอาดชองปากและฟน กล้ัวคอ ดวยน้ําเกลืออุนๆ หรือนํ้ายาบวนปาก
ถาเจ็บมาก ใหยาอมท่ีมียาชา หรือวาง กระเปาน้ําแข็งที่คอ 5.ใหรับประทาน อาหารออนหรืออาหารเหลว
ดูแลเร่ืองยาบรรเทาปวด การลดไข และ ความไมสุขสบาย
ดูแลใหไดรับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา ของแพทย
หลีกเลี่ยงสิ่งระคายเคืองในลําคอ เชน ควันบุหรี่ สุรา
การพยาบาลผู้ป่วย ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการ
การประเมินและการตรวจวินิจฉัย
การตรวจร่างกายส่วนองค์ประกอบของตาที่ วินิจฉัยตา
มองเห็นได้
การตรวจโดยใช้เครื่องมือพิเศษ
2.1 การวัดสายตา (visual acuity) ความ สามารถในการมองเห็น โดยใช้ Snellen chart และ E- chart
2.2 การวัดความดันลูกตา (tonometry) การตรวจโดย ใช้มือกดTactile tension
2.3 การส่องตรวจภายในลูกตาด้วย ophthalmoscope
2.4 การตรวจตาด้วย (slit lamp)
2.5 การตรวจลานสายตา (visual field
2.5 การตรวจลานสายตา (visual field
2.6 การตรวจกล้ามเนื้อตา (ocular muscles examination)
2.7 การตรวจตาบอดสี (color blindness examination)
2.8 การวินิจฉัยโรคด้วย DNA
โรคตาท่ีพบ
บ่อย
การติดเชื้อที่เยื่อบุตา และกระจกตา
กระจกตาอักเสบ (keratitis)
โรคตาท่ีพบ
เย่ือบุตาขาวอักเสบ (Conjunctivitis) ริดสีดวงตา (Trachoma)
กุ้งยิง (Hordeolum)
ต้อกระจก (Cataract)
ต้อหิน (glaucoma)
จอประสาทตาลอก (Retinal detachment)
Eye injury, Hyphema, แผลท่ีกระจกตา (corneal ulcer)
Diabetic retinopathy
EYE INJURY
Cornea ulcer
•การเกิดแผลของกระจกตา อาจเกิดจากอุบัติเหตุหรือการที่ เยื่อบุขั้นนอกสุดของกระจกตามีความต้านทานตํ่าทําให้เกิด การตายของเนื้อเยื่อกระจกตา และถ้ามีการติดเชื้อร่วมด้วยก็ จะเกิดหนองและเนื้อเยื่อกระจกตาหลุดลอกจนเกิดแผลของ กระจกตาเกิดขึ้น
หมายถึง การขุ่นของแก้วตา (lens opacity) ทําใหตามัวหรือ
อาจมองไม่เห็น
ต้อกระจก
ชนิแของต้อกระจก
ต้อกระจกในวัยสูงอายุ (senile cataract)
ต้อกระจกโดยกําเนิด (congenital cataract)
ต้อกระจกทุติยภูมิ (secondary cataract) สาเหตุจาก ภยันตราย จากโรคเบาหวานจากการได้รับยาเสตียรอยด์และได้รับแสงอุลตราไวโอเล็ตเป็นเวลานานๆ
พยาธิสภาพ
•ปกติแก้วตาประกอบด้วย โปรตีนที่ใสในปริมาณที่ สมดุลและมีโพแทสเซียมกับ ascorbic acid จํานวนมาก
• การขุ่นของแก้วตาเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทาง ชีวเคมี ภายในแกเวตา โดยในระยะแรกจะมีการซึมผ่าน ของนํ้ามากขึ้น ทําให้เนื้อเยื่อของแก้วตาบวม
• เมื่อระยะต้อสุกจํานวนนํ้าที่เพิ่มขึ้นจะลดลง ความ หนาแน่นของแก้วตาจะค่อยๆลดลงเกิดการสูญเสีย โพแทสเซียม โดยโซเดียมเข้ามาแทนที่เพื่อรักษาสมดุล และมีแคลเซียมมาเกาะมากขึ้น การใช้ออกซิเจนลดลง มีผลให้เกิดความไม่สมดุลของโปรตีน
•อาการและอาการแสดง
ตามัวลงช้าๆ ตามัวมากขึ้นในที่สว่างที่เป็นเช่น นั้นเนื่องจาก ขณะอยู่ที่สว่างรูม่านตาเล็กลงส่วน อยู่ในที่มืดจะเห็นชัดขึ้น เพราะรูม่านตาขยาย
มองเห็นภาพซ้อน เนื่องจากการหักเหของแสง ในแต่ละส่วนของแก้วตาเปลี่ยนไป
สายตาสั้นลงเพราะแก้วตาเริ่มขุ่น กําลังหักเห ของแสงเปลี่ยนไปจึงมองในระยะใกล้ได้ชัด ขณะเดียวกันมองไกลจะไม่ชัดเมื่อใช้ไฟฉายส่อง ผ่านรูม่านตา จะเห็นแสงสะท้อนสีขาว
รูม่านตาจะเห็นขุ่นขาวเมื่อส่องดูด้วยไฟฉาย
ถ้าสองตาผู้ป่วยด้วยเครื่องมือที่เรียก direct opthalmoscope บริเวณรูม่านตาจะเห็นเป็นเงา ดําตามขนาดและรูปราางของแก้วตาที่ขุ่น