Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสืบพันธุ์ Reproductive System - Coggle Diagram
ระบบสืบพันธุ์ Reproductive System
การเกิดเพศและการพัฒนาของอวัยวะสืบพันธุ์ในครรภ์
1.บทบาทของจีนและการกำหนดเพศ
ลักษณะทางพันธุกรรมโดยโครโมโซม 2 ชนิด
1.โครโมโซมกาย (autosome) 44 โครโมโซม
2.โครโมโซมเพศ (sex chromosome) 2 โครโมโซม
โครโมโซมชาย XY
โครโมโซมหญิง XX
2.การจำแนกเพศ
1.2.1 การจำแนกต่อมผลิตเซลล์เพศ
1.2.2 การจำแนกและการพัฒนาอวัยวะสืบพันธุ์
1.การจำแนกและการพัฒนาอวัยวะสืบพันธุ์ภายใน
2.การจำแนกและการพัฒนาอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
3.sexual differentiation ของสมองนอกเหนือจากการพัฒนาระบบสืบพันธุ์ตัวอ่อน
4.ความผิดปกติที่เกิดขึ้นจากการจำแนกเพศ
4.1.ความผิดปกติที่เกิดเนื่องจากโครโมโซมเพศ
4.1.1 turner symdrone
4.1.2 klinefelter syndrome
4.1.3 superfemale
4.1.4 ตัวอ่่อนที่มีโครโมโซมเพศเป็น OY เนื่ิองจากไข่ไม่มีโครโมโซมเพศ
4.2.การพัฒนาที่ผิดปกติของระบบสืบพันธุ์ เนื่องจากความผิดปกติของฮอร์โมนเพศ
4.2.1 male pseudohermaphroditism
4.2.2 female pseudohermaphroditism
การเปลี่ยนเเปลงทางสรีระวิทยาในวัยเเรกรุ่น
เปลี่ยนแปลงเพื่อเตรียมพน้อมสำหรับการมีบุตร อายุ 11-13 ปี
เด็กหญิงจะเข้าสู่วัยเเรกรุ่นเร็วกว่าเด็กชาย 2-3 ปี
มี GnRH หลั่งออกมากระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าสร้างเเละหลั่งโกนาโดโทรพิน เพิ่มสูงขึ้นเพื่อกระตุ้นต่อมผลิตเซลล์เพศให้มีการพัฒนา
เพศชายอันฑะเเละถุงหุ้มอันฑะใหญ่ขึ้น สร้างอสุจิ การเพิ่มของเซลล์ไลดิก เพิ่มมวลของกล้ามเนื้อเเขนขาเเละลำตัว ไหล่กว้าง เสียงห้าว มีขนขึนหน้าอก อวัยวะเพศ เเละรักเเร้
เพศหญิงรังไข่โตขึนถุงไข่สร้างฮอร์โมนเอสโทรเจนเเละโพลเจสเทอโลน สะสมไขมันที่เต้านม หัวไหล่ เชิงกราน เเละก้น มีขนขึนอวัยวะเพศ เเละรักเเร้
สรีระวิทยาของระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
3.1 ฮอร์โมนที่ควบคุมระบบสืบพันธุ์หญิง
ต่อมใต้สะมอง
รังไข่
เส้นทางเดินของระบบสืบพันธุ์
ท่อนำไข่
มดลูก
ปากทดลูก
รังไข่ที่เจริญสมวัยมีหน้าที่สองอย่าง
ทำให้เซลล์สืบพันธุุ์เจริญสมวัย
การสร้างสเตอรอยด์
3.2 อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง
อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน
รังไข่สองข้าง
ระบบทางเดินของไข่เเละอสุจิ
ท่อนำไข่หรือปีกมดลูก
มดลูก
ช่องคลอด
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
หัวหน่าว
เเคมใหญ่
เเคมเล็ก
คลิทอริส
เวสทิบูล
3.3การพัฒนาของไข่
พัฒนาตัวอ่อนระยะเเรก เเบ่งตัวเเบบไมโอซิสได้เป็น primary oocyte โดยจำลองตนเองของDNA เป็นการเเบ่งตัวที่ไม่สมบูรณ์
การเเบ่งตัวเเบบไมโอซิส ครั้งที่สองเกิดในท่อนำไข่ หลังจากมีการตกไข่หากเมื่อ secondary oocyte ถูกผสมกับตัวอสุจิจะเป็นไข่ที่เจรฺญเต็มที่เเล้ว
3.4 รอบเดือน
ครั้งเเรกเกิดขึ้นในวัยรุ่น อายุ 13 ปี menacha หลังจากครั้งเเรกรอบเดือนครั้งต่อไปจะไม่สม่ำเสมอ
รอบเดือนในผู้ใหญ่รอบที่หนึ่งเฉลี่ย 28 วัน อาจมีระยะเพียง 25-35 วัน
รอบเดือนเเบ่งได้เป็น 4 ระยะ
1.menstrual phase ระยะที่มีเลือดระดูออก
2.follicular phase ระยะพัฒนาถุงไข่
3.ovulatory phase อย่างน้อย 24-45 ชั่วโมง
4.luteal phase ระยะมีการผลิตโพรเจสเทอโรน
3.5 การควบคุมการทำงานของรังไข่
1.สมองส่วนไฮโพทารามัสการควบคุมการหลั่งฮอร์โมนโกนาโดโทรพิน (FSH)เเละ.LH
2.มีบทบาทสำคัญในการควบคุมการทำงานของทั้งอัณฑะเเละรังไข่การสร้างเเละหลั่ง FSH เเละ LHถูกควบคุมโดย GnRE ที่มาจากไฮโพทาลามัส
3.6 วัยหมดประจำเดือน
จะอยู่ที่ 20 ปี จะเริ่มลดลงหลังหลังอายุ 30 ปี เมื่ออายุ 50 ปี คส่มผิดปกติของประจำเดือนจะมีน้อย
ระยะประจำเดือนจะมาไม่สม่ำเสมอช่วงเเรก เเล้วจึงเข้าสู่วัยหมดประจำเดือน ถือเป็นจุดสำคัญของชีวิต(climacteric) ซึ่งจะไม่มสามารถสืบพันธุ์ได้อีก
4.สรีรวิทยาของระบบสืบพันธุ์ชาย
4.1ฮอร์โมนของระบบสืบพันธุ์ชาย
ต่อมไร้ท่อสืบพันธุ์เพศชาย ประกอบด้วย
ไฮโพทาลามัส
ปรุงแต่งข้อมูลที่ได้รับจากภายนอก-ภายในร่างกาย
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
LH ควบคุมการทำงานของเซลล์ไลดิก ผลิตเทสโทสเตอโรน
FSH ช่วยการทำงานของเทสโทสเตอโรน ผลิตอสุจิ
อัณฑะ
มีหน้าที่ผลิตอสุจิที่เจริญสมวัยและผลิตโปรตีนควบคุมหลากหลาย
โปรตีนจับแอนโดรเจน
อินฮึบิน
แอคทิวิน
ฟอลลิสเตทิน
4.2อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
อัณฑะ (testis)
ท่อน้ำพักเชื่อ (epididymis)
ท่อหลั่งอสุจิ (ejaculatory duct)
ท่อปัสสาวะ (urethra)
องคชาต (penis)
อวัยวะช่วยเหลือ
ถุงน้ำอสุจิ (seminal vesicles)
ต่อมลูหมาก (prostate gland)
4.3การสร้างอสุจิ
สามารถสร้างอสุจิได้ตั้งแต่อายุ 13 ปี
จนตลอดชีวิต แต่จะน้อยลงในชายสูงอายุ
การสร้างอสุจิใช้เวลาประมาณ 65-70 วัน
เซลล์ต้นกำเนิดอสุจิ มี 2 ชนิด
ชนิดเอ (type A)
ชนิดบี (type B)
1.เซลล์ต้นกำเนิดอสุจิ บี1
2.สเปอร์มาโทไซต์ปฐมภูมิ
3.การพัฒนาเป็นตัวอสุจิ (spermiogenesis)
4.4การเจริญสมวัยของเซลล์อสุจิ
อสุจิยังไม่เจริญเต็มวัยไม่สามารถนำไปใช้งานได้ ต้องอาซัยการบีบตัวของกล้ามเนื้อเรียบ เซลล์อสุจิไปท่อพักเชื้อใช้เวลา 12 วัน
ท่อพักเชื้ออสุจิแบ่งเป็น 3 ส่วน
1.ส่วนหัว (caput)
2.ลำตัว (corpus)
3.หาง (cauda)
เซลล์อสุจิใช้เวลา 12-16 วัน พัฒนาความสามารถในการเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงรูปร่างและขนาด
สาเหตุของการมีบุตรยาก
ความเครียด
ยาบางชนิด
โรคขาดอาหาร
ภาวะไตวายเรื้อรัง
โรคเบาหวาน
การปฏิสนธิและการตั้งครรภ์
กระบวนการปฏิสนธิ (fertilization) เกิดขึ้นที่ท่อนำไข่ (oviduct) ภายใน12-24 ชั่วโมง หลังการตกไข่ อสุจสามารถใช้ประโยชน์ได้ใน 1-2 วัน
การตั้งครรภ์จะเกิดขึ้นได้ถ้ามีการร่วประเวณีในช่วง fertilization window คือการตกไข่ 2 วัน และหลังตกไข่ 1 วัน
รก (placenta)
1.ส่วนที่เจริญมาจากทารก (fetal portion)
2.ส่วนที่เจริญมาจากแม่ (maternal portion)
การตั้งครรภ์ (prenancy)
โปรตีนและฮอร์โมนสเตอรอยด์จากรังไข่ของมารดาและรก ช่วยรักษาการตั้งครรภ์ให้คงอยู่ ระบบต่อมไร้ท่อของมมารดาจะปรับตัวเพื่อให้มีการเจริญที่พอเหมาะของทารกในครรภ์
ผลของการตั้งครรภ์ต่อมารดา
มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย อาจคลื่นไส้อาเจียน
อ่อนเพลีย รวมถึงน้ำหนักที่เพิ่มขึ้น
การคลอด
1.CRH จากทารกกระตุ้นการหลั่ง ACTH ไปกระตุ้นการหลั่ง DHEAS และคอร์ทิซอล
2.คอร์ทิซอลกระตุ้นเชิงบวกต่อรก ให้หลั่ง CRH เพิ่มมากขึ้น
3.รกเปลี่ยน DHEAS เป็นเอสโทรเจน ออกฤทธิ์ร่วมกับพรอสทาแกลนดิน ออกซิโทซิน กระตุ้นการหดตัวของมดลูก นำไปสู่การคลอด
การหลั่งน้ำนม (lactation)
1.เต้านมเป็นต่อมรวมกันอยู่เป็นกลุ่ม จำนวน 15-20 กลีบ แต่ละกลีบมีเซลล์หลั่งน้ำนม (alveolar) คล้ายพวงองุ่น
2.ต่อมน้ำนมมีเลือดมาเลี้ยงเป็นแขนงของ subcla vian และ intercostals arteries มีเส้นประสาท thoracic nerve ของระบบประสาทแขนงที่
4,5 และ6 การสร้างน้ำนมจะเริ่มในเดือนที่ 5 ของการตั้งครรภ์
3.โพรแลกทิน การเสริมฤทธิ์จากฮอร์โมนอินซูลินและกลูโคคอร์ติคอยด์โพรแลกติน ส่งเสริมการแบ่งเซลล์ เปลี่ยนรูปเซลล์ หญิงให้นมลูกจะผลิตน้ำนมวันละ 600 ml.
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์และการเกิด
1.การตั้งครรภ์นอกมดลูก
2.การแทงบุตร (miscarriage) ประมาณร้อยละ 15 ของหญิงตั้งครรภ์ โดยการแท้ง
3.การตั้งครรภ์ทำให้ความดันโลหิตสูง
วิธีการคุมกำเนิด (Contraceptive method)
1.การป้องกันไข่และอสุจิสัมผัสกัน
1.1 coitus interruptus คือการถอดอวัยวะเพศชายก่อนหลั่งอสุจิ
1.2 นับจังหวะวันตกไข่
1.3 สวนล้างช่องคลอดหลังมีเพศสัมพันธ์
1.4 Barrie mathod การใช้ถุงยางอนามัยและห่วงคุมกำเนิด
1.5 ใช้สารฆ่าอสุจิ
เจล
โฟม
ฟิลม์
ครีม
ยาเม็ด
1.6 การผ่าตัด
1.vasectomy การตัดท่อน้ำอสุจิ
2.vas deferen ไม่มีอสุจิในน้ำอสุจิ ป้องกันได้ 100%
2.ยาเม็ดคุมกำเนิด
2.1 ยาเม็ดเอสโทรเจนและโพรเอสเทอโรน เคี้ยวและกลืนวันละครั้ง
2.2 ยาฉีดโพรเจสเทอโรน ฉีดทุก 3 เดือน
2.3 ยากินโพรเจสติน mini-pill
3.ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน
หญิงกับชายมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ตั้งใจ
คุมกำเนิดฉุกเฉินจะได้ผลดีต้องเริ่มภายใน 72 ชั่วโมง
4.การป้องกันและฝังตัวของตัวอ่อน
4.1 การเตรียมโพรเจสตินที่ออกฤทธ์ระยะยาวขนาดสูง RU-486 (mifepristone)
4.2 ห่วงคุมกำเนิด (intrauterinedevice IUD) ป้องกันการฝังตัวของไซโกต
การตรวจเพื่อวินิจฉัยก่อนคลอด (Prenataldiagnostic test)
1.อัลทาซาวด์ (ultrasound)
2.การเจาะน้ำคร่ำ (amniocentesis)
3.การตรวจเนื้อเยื่อคอเรียน (chorionic villi sampling CVS)
แนวคิดหลักระบบสืบพันธุ์
1.ระบบสืบพันธุ์เป็นระบบของเซลล์สืบพันธุ์ (gonad)
2.GONAD
2.1 สร้างเซลล์สืบพันธุ์
2.2 สร้างฮอร์โมน โดยมีไฮโพทาลามัสหลั่งฮอร์โมน ปลดปล่อยต่อมเพศ (GnRH)
3.หลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubuld)
4.การสร้างอสุจิ
5.เทสโทสเตอโรนมีหน้าที่สร้างอสุจิ อาศัย FSH
6.เซลล์เซอร์โทลีมีหน้าที่หลากหลาย
สร้างโปรตีนจับแอนโดรเจน
สารน้ำ
blood testis barrier
7.เทสโทสเตอโรนเป็นแอนโดรเจนที่ว่องไว
8.เซลล์ไลดิกเป็นเซลล์ค้ำจุ้นด้านนอกอสุจิ
9.การเเข็งตัวขององคชาต เป็นการตอบสนองหลอดเลือดต่อประสาท ทำให้เกิดเลือดคั่งที่ erectile tissue
10.ฟอลลิเคิลเป็นหน่วยทำงานของรังไข่
11.การพัฒนาถุงไข่จะเล็กที่สุดจนมีขนาดใหญ่ อาศัย FSH ใช้เวลาเป้นเดือน