Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเมลิออยด์ Melioidosis, เป็นโรคติดเชื้อจากแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่ปนเปื้อนไ…
โรคเมลิออยด์ Melioidosis
สาเหตุการเกิดโรค
2.ในประเทศไทยมีรายงานแยกเชื้อได้จากดินและน้ำของทุกภาค พบมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี 2 biotypes
-เชื้อที่แยกได้จากผู้ป่วยเป็นสายพันธุ์ Arabinose negative (Ara-)
-เชื้อที่ได้จากสิ่งแวดล้อมมีทั้ง Arabinose negative และ Arabinose positive (Ara+)
1.เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Burkholderia pseudomallei (Pseudomonas psudomalle) ซึ่งเป็นแบคทีเรียชนิดแกรมลบ มีลักษณะจำเพาะคือเซลล์จะติดสีเข้มหัวท้าย เมื่อย้อมด้วยสีแกรมทำให้มีลักษณะคล้ายเข็มกลัดซ่อนปลาย ไม่สร้างสปอร์ เคลื่อนที่โดยใช้แฟลกเจลลา
อาการและการแสดง
-
1.อาการไข้นานไม่ทราบสาเหตุผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมาพบแพทย์ด้วยอาการมีไข้เป็นเวลานานโดยที่ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดพบว่าน้ำหนักลดลงร่างกายอ่อนเพลียต่อมาจึงเกิดอาการที่รุนแรงขึ้นลักษณะทางคลินิกของโรคนี้สามารถเลียนแบบโรคอื่นๆได้เกือบทุกโรคขึ้นอยู่กับตำแหน่งของอวัยวะที่เกิดโรค
การวินิฉัยโรค
แพทย์วินิจฉัยโรคเมลิออยด์ได้จากลักษณะอาการของผู้ป่วย แหล่งที่อยู่อาศัย ประวัติโรคประจำตัว การตรวจร่างกาย การตรวจรอยโรคที่ผิวหนัง การตรวจภาพเอกซเรย์ปอด การตรวจเชื้อและการตรวจเพาะเชื้อจากเลือดและสารคัดหลั่ง
การรักษา
2.นำสารคัดหลั่งสิ่งส่งตรวจของผู้ป่วย เช่น เลือด ปัสสาวะ เสมหะ หรือหนอง มาเพาะเลี้ยง แล้วนำมาทดสอบดูว่ามีเชื้อนี้อยู่หรือไม่ ซึ่งจะใช้เวลา 3-5 วันจึงจะรู้ผล
3.พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะแก่ผู้ป่วย โดยให้ยาฉีดในระยะแรก 2 สัปดาห์ และให้ยารับประทานต่อจนครบ 20สัปดาห์เพื่อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ
-
4.เนื่องจากผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด จะเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว การใช้ยาต้านจุลชีพที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น ยาที่นิยมใช้กันได้แก่ tetracycline, chloramphenicol, kanamycin, cotrimoxazole และ novobiocin ที่ใช้ได้ผลดีคือ ceftazidime 4 กรัม/วัน นาน 1 เดือน ต่อเนื่องด้วย tetracycline นาน 6 เดือน
5.ปัจจุบันมีแนวทางการรักษาแบบยาชนิดเดียว โดยใช้ ceftazidime 120 มก./กก./วัน โดยฉีดเข้ากล้าม หรือฉีดเข้าเส้นเลือดนาน 14 วัน ในผู้ป่วยอาการหนักแบบการรักษาแบบยา 2 ชนิด ceftazidimne 100 มก./กก./วัน ร่มกับมcotrimoxazole
6.ในรายที่ฝีจะต้องมีการผ่าตัดเอาฝีออกซึ่งจะให้ผลดีกว่าการใช้เข็มเจาะหรือดูดเอาแต่หนองออกการทำผ่าตัดควรทำเมื่อตรวจไม่พบเชื้อในกระแสโลหิตแล้ว
การป้องกัน
-
4.เมื่อมีบาดแผลและเกิดมีไข้หรือเกิดการอักเสบเรื้อรังควรรีบไปพบแพทย์นอกจากนี้แล้วการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคต่างๆและการดูแลสุขภาพของร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอก็จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคต่างๆได้
2.ป้องกันไม่ให้เกิดบาดแผลเมื่อต้องสัมผัสดินและน้ำหรือรีบทำความสะอาดร่างกายหลังการทำงานในบุคคลที่มีอาการของโรคเบาหวานและแผลบาดเจ็บรุนแรงควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับดินและน้ำถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้อาจต้องสวมถุงมือรองเท้ายางเพื่อป้องกัน
5.การป้องกันโรคเป็นไปได้ยากเพราะผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นชาวไร่ชาวนาที่ต้องทำงานสัมผัสดินและน้ำซึ่งในถิ่นระบาดพบเชื้อสาเหตุอยู่ทั่วไป
1.ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรคเมลิออยโดสิสการควบคุมป้องกันโรคทำได้ยากเนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นชาวนาที่ต้องสัมผัสดินและน้ำขณะทำงานผู้ที่มีภาวะภูมิต้านทานบกพร่องผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคเรื้อรังหรือมีบาดแผลที่ผิวหนังควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสดินโดยสวมรองเท้าบูทขณะทำงานลุยน้ำลุยโคลนรวมทั้งบุคคลที่มีอาการของโรคเบาหวานและแผลบาดเจ็บรุนแรงควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับดินและน้ำเช่นในไร่นา
โรคเมลิออยด์ติดต่อสู่ทุกเพศทุกวัยได้ แม้กระทั่งในผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรงดีก็ตาม แต่ผู้ที่ป่วยด้วยโรคหรือมีภาวะต่อไปนี้จะมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูงกว่าปกติ
-
-
-
-
เป็นโรคติดเชื้อจากแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่ปนเปื้อนได้ในน้ำและดิน แพร่กระจายสู่คนผ่านการสัมผัสเชื้อโดยตรงหรือโดยการติดต่อจากสัตว์ที่ติดเชื้อ เช่น สุนัข แมว หมู ม้า วัว ควาย แกะ แพะ เป็นต้น พบอัตราการป่วยมากที่สุดในช่วงฤดูฝน โดยในประเทศไทยจะพบมากในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
-
-
-
-
-
-
-
-
-