Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพยาบาลผู้ป่วย หู ตา จมูก คอ - Coggle Diagram
บทที่ 9 การพยาบาลผู้ป่วย หู ตา จมูก คอ
การพยาบาลผู้ป่วยโรค หู
สิ่งแปลกปลอมเข้าหู
การพยาบาล
เห็บ มด จะกัดแน่น ใช้แอลกอฮอล์ 70%
หยอดลงไปฆ่า
แมลงปีก แมลงสาป ใช้น้ำหยอดเข้าในรูหู
จนเต็ม มันจะออกมาเอง
3.น้ำ ให้ใส่น้ำเพิ่มจนเต็มหู กดติ่งหน้าหู ให้
น้ำรวมกันแล้วตะแคงออก
Hearing loss
เครื่องช่วยฟัง (Hearing
aids)
การดูแลผู้ป่วยที่สูญเสียการได้ยิน
ขี้หูอุดตัน
(Impacted cerumen)
การรักษา ล้างออก
งูสวัด Herpes zoster
โดยทั่วไปรักษาตามอาการ ให้ยาบร
รเทาปวด ยาป้ายตุ่มใส
โรคของหูชั้น
กลาง
การรักษา
ถ้าแก้วหูที่ขาดนั้นสะอาด
หากเกิดจากอุบัติเหตุ
โรคของหู
ชั้นใน
ประสาทหูพิการมาแต่กำเนิด
ประสาทหูพิการจากพิษของยา
Meniere’s disease (Vertigo)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการมองเห็น
การประเมิน และการตรวจวินิจฉัย
การตรวจร่างกายส่วนองค์ประกอบของตาที่
มองเห็นได้
การตรวจโดยใช้เครื่องมือพิเศษ
การวัดสายตา (visual acuity) ความ
สามารถในการมองเห็นโดยใช้ Snellen
chart และ E- chart
การวัดความดันลูกตา (tonometry) การตรวจโดย
ใช้มือกดTactile tension
การส่องตรวจภายในลูกตาด้วย
ophthalmoscope
การตรวจตาด้วย (slit lamp)
การตรวจลานสายตา (visual field
examination)
การตรวจกล้ามเนื้อตา (ocular muscles
examination)
การตรวจตาบอดสี (color blindness examination)
การวินิจฉัยโรคด้วย DNA
โรคตาที่พบบ่อย
1.การติดเชื้อที่เยื่อบุตา และกระจกตา
กระจกตาอักเสบ (keratitis)เยื่อบุตาขาวอักเสบ (Conjunctivitis)
ริดสีดวงตา (Trachoma)กุ้งยิง (Hordeolum)
2.ต้อกระจก (Cataract)
3.ต้อหิน (glaucoma)
4.จอประสาทตาลอก (Retinal detachment)
5.Eye injury, Hyphema, แผลที่กระจกตา
(corneal ulcer)
6.Diabetic retinopathy
การติดเชื้อของตา
กุ้งยิง
สาเหตุ
อาการ
การรักษา
เยื่อบุตาขาวอักเสบ Conjunctivitis
เยื่อยุตาอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
สาเหตุ
ชื้อ Strep.epidermidis, Staph.aureus
ติดต่อโดยการสัมผัส
การรักษา
ใช้ยาป้ายตาหรือหยอดตา ยาปฏิชีวนะ
เช่น Terramycin eye ointment,Poly-oph eyedrop. ถ้า
หนังตาบวมมากให้กินยา Cloxacillin หรือ Erythromycin
อาการ
ตาแดง หนังตาบวม มีขี้ตามากเป็นสีเหลือง
หรือเขียว ไม่ปวดหรือเคืองตา
เยื่อยุตาอักเสบจากเชื้อไวรัส
สาเหตุ
ติดเชื้อไวรัส เช่น adenovirus
ติดต่อโดยการสัมผัสน้ำตาโดยตรงเล่นน้ำในสระ
ว่ายน้ำ
การรักษา
ใช้ยาป้ายตาหรือหยอดตา ยาปฏิชีวนะ
อาการ
ตาแดง เคืองตา หนังตาบวมเล็กน้อย มีขี้ตา
เล็กน้อยต่อมน้ำเหลืองหน้าหูโตอาจมีไข้ร่วมด้วย
เยื่อบุตาอักเสบจากการแพ้
สาเหตุ
จากการแพ้ เช่น ฝุ่น ควัน เกสรดอกไม้
อากาศ เครื่องสำอาง โรคภูมิแพ้
การรักษา
ให้ antihistamine เช่น Hista-oph eye drop ,
Alomide eyedrop
ถ้าเป็นมากให้ยาแก้แพ้ เช่น CPM หลีกเลี่ยงสิ่ง
ที่แพ้ถ้าคันตามากให้ประคบด้วยน้ำแข็ง
อาการ
คันตามาก ตาบวม น้ำตาไหล มักไม่มีขี้
ตา ตาแดงเล็กน้อย
EYE INJURY
Cornea ulcer
การเกิดแผลของกระจกตา อาจเกิดจากอุบัติเหตุหรือการที่เยื่อบุขั้นนอกสุดของกระจกตามีความต้านทานต่ำทำให้เกิด
การตายของเนื้อเยื่อกระจกตา
Retinal detachment
Retinal detachment
ชนิดปฐมภูมิ หรือชนิดไม่ทราบสาเหตุ (primary or
rhematogenous retinal detachment)
ชนิดทุติยภูมิ (secondary retinal detachment)
การลอกหลุดของจอประสาทตาเนื่องจาก
มีของเหลวคั่ง (exudative retinal detachment)
การหลุดลอกของประสาทตาเนื่องจากการดึงรั้ง (tractional
retinal detachment)
สาเหตุ
การเสื่อมของจอประสาทตาหรือน้ำวุ้นตา มักพบในผู้
สูงอายุหรือผู้ที่มีสายตาสั้นมากๆ
หลังผ่าตัดต้อกระจก
อุบัติเหตุถึงชั้นของจอประสาทตา
การรักษา
photocoagulation
cryotherapy or retinal cryopexy
Pneumatic retinopexy
Buckling operation
Vitrectomy
อาการ
มองเห็นจุดดำๆหรือหยากไย่ลอยไปมา
(floater) ร่วมกับเลือดออกที่วุ้นตาถ้ามีการดึงรั้งหรือ ลอกหลุด
ของเรตินาทำให้มองเห็นแสงวูบวาบในตาคล้ายฟ้าแลบ
การพยาบาล
การพยาบาล เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนหลัง
ผ่าตัด
การพยาบาล เพื่อป้องกันการหลุดลอก หรือมีรูขาดที่จอ
ประสาท
Cataract ต้อกระจก
ชนิดของต้อกระจก
ต้อกระจกในวัยสูงอายุ (senile cataract)
ต้อกระจกโดยกำเนิด (congenital cataract)
ต้อกระจกทุติยภูมิ (secondary cataract)
อาการและอาการแสดง
ตามัวลงช้าๆ ตามัวมากขึ้นในที่สว่างที่เป็นเช่น
นั้นเนื่องจาก
มองเห็นภาพซ้อน เนื่องจากการหักเหของแสง
ในแต่ละส่วนของแก้วตาเปลี่ยนไป
มองเห็นภาพซ้อน เนื่องจากการหักเหของแสง
ในแต่ละส่วนของแก้วตาเปลี่ยนไป
รูม่านตาจะเห็นขุ่นขาวเมื่อส่องดูด้วยไฟฉาย
สาเหตุ
ผู้สูงอายุ
ปัจจัยทางด้านสุขภาพ ได้แก่ พันธุกรรม ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่นโรคเบาหวาน
การใช้ยาหรือสารพิษ เช่น ยาสเตอรอยด์ ยาขับปัสสาวะ ยาฆ่า
การขาดสารอาหารในหญิงตั้งครรภ์ ส่งผลทำให้ทารกเป็น
ต้อกระจกแต่กำเนิด
การรักษา
Extracapsular cataract extraction (ECCE)
Extracapsular Cataract Extraction with
Intraocular Lens (ECCE c IOL)
Intracapsular cataract extraction (ICCE)
Extracapsular Cataract Extraction with
Intraocular Lens (ECCE c IOL)
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัดต้อกระจก
การพยาบาลเพื่อช่วยลดอาการปวดตาและให้พักหลับ
ได้
การพยาบาลเพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนตา
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่ตา
ภายหลังผ่าตัด
ต้อหิน (glaucoma)
อาการ
ปวดตา ตามัว กระจกตาบวม เห็นเป็นสีรุ้งรอบ
ดวงไฟ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียนความดันลูกตาสูง
ลานสายตาแคบลง อาจเดินชนของ
การรักษา
β-adrenergic blocking agent ลดการสร้างน้ำเลี้ยง
ลูกตา เช่น 0.25 และ0.5% timoptol
Sympathomimetic drugs
การใช้ยาหดรูม่านตา
ชนิดของต้อหิน
ต้อหินชนิดทุติยภูมิ (secondary glaucoma) เกิดตาม
หลังโรคตาบางโรคหรือโรคภายนอกลูกตาก็ได้
ต้อหินโดยกำเนิด (congenital glaucoma) พบได้ตั้งแต่
แรกเกิด จากพันธุกรรม
ต้อหินชนิดปฐมภูมิ (primary glaucoma) เกิดจากความ
ผิดปกติของทางเดินน้ำเลี้ยงลูกตา
การพยาบาล
ในผู้ป่วยต้อหินจะให้ยาขยายม่านตา
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาลดความดันลูกตาเพื่อป้องกัน
ถ้าผู้ป่วยได้รับยาระงับความรู้สึกทั่วร่างกาย
เลี่ยงการเงยหน้าก้มหน้า
การพยาบาลมะเร็งหลัง
โพรงจมูก
CA NASOPHALYNX
มะเร็งหลังจมูก
สาเหตุ
การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา
การรับประทานปลาเค็ม
การพยาบาล
รังสีรักษา ร่วมกับเคมีบำบัด ระยะที่ 3 -4 ทำคู่กันไป
หรืออย่างใดอย่างหนึ่งก่อนหลัง
การผ่าตัด ทำเฉพาะในรายที่ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
จากนั้นร่วมกับการฉายรังสี
รังสีรักษา ได้ผลดีในระยะ ที่ 1-2
เลเซอร์ Photo-dynamic therapy (PDT)
มะเร็งของกล่องเสียง
สาเหตุ
การสูบบุหรี่จัด
การดื่มสุรา
อาการ
ระยะแรกเสียงไม่แหบ ต่อมามีเสียงแหบ และจะเป็น
มากขึ้นเรื่อยๆ
เจ็บร้อนในคอ ลักษณะเหมือนก้างติดคอ
กลืนลำบาก เจ็บเวลากลืน
การรักษา
การผ่าตัด กล่องเสียง
การฉายรังสี
การพยาบาลทอนซิลอักเสบ
ทอนซิลอักเสบ (Tonsillitis)
Acute tonsillitis
อาการ
เจ็บคอ ไข้สูง อาจถึง 40.5 °C
หนาวสั่น เบื่ออาหารปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย
การรักษา
ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดื่มน้ำ อย่างน้อย 2,500 cc./day
รักษาความสะอาดช่องปากและฟัน กลั้วคอ
ด้วยน้ำเกลืออุ่นๆ
ถ้าเจ็บมาก ให้ยาอมที่มียาชา หรือวาง
กระเป๋าน้ำแข็งที่คอ
5.ให้รับประทาน
อาหารอ่อนหรืออาหารเหลว
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ที่พบได้บ่อย คือβ-hemolytic streptococcus group A และ
อาจเกิดจากเชื้อแบคทีเรียอื่น
Chronic tonsillitis
อาการ
เนื้อเยื่อของทอนซิลจะโต
ขึ้น ขรุขระ แดง
การรักษา
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ กลุ่ม penicillin
นาน 7 วัน เพื่อรักษาอาการอักเสบ
ทำความสะอาดช่องปาก
ถ้าเป็นบ่อย แนะนำให้ทำผ่าตัด
Tonsillectomy
สาเหตุ
เกิดขึ้นเนื่องจากการอักเสบเฉียบพลันบ่อย ขาดการ
รักษาที่ถูกต้อง
จมูกและ โพรงไซนัส
NASAL POLYP
อาการ
อาการเช่นเดียวกับเป็นหวัด
คันจมูก ก้อนโตมากจะคันมาก
การรักษา
รักษาเช่นเดียวกับโรคภูมิแพ้ และการอักเสบ
เรื้อรังของจมูกCaldwell-Luc Operation หรือ Ethmoidectomy
SINUSITIS
Acute sinusitis มีระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์
Chronic sinusitis มีระยะเวลานานกว่า 3 เดือน
Epistaxis
สาเหตุ
การบาดเจ็บ เนื้องอกของจมูก มะเร็งหลัง
โพรงจมูก หลอดเลือดในจมูกฉีกขาด
การพยาบาล
ถ้าเลือดไม่ออกมากให้บีบจมูกนาน 5-8
นาที และให้หายใจทางปาก
วัดสัญญาณชีพ
จัดให้นอนท่า ศีรษะสูง
CALDWELL-LUC
OPERATION
ภาวะแทรกซ้อนหลังทำผ่าตัด
ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบน
Periorbital abscess
Orbital cellulitis