Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ต้อหิน (glaucoma), image, image, image, image, image, image - Coggle…
ต้อหิน (glaucoma)
การรักษา
- การใช้ยาหดรูม่านตา จะส่งผลต่อกล้ามเนื้อหูรูด
ม่านตาทําให้รูม่านตาหดเล็กลง ทําให้มุมม่านตาเปิด
- β-adrenergic blocking agent ลดการสร้างนํ้าเลี้ยง
ลูกตา เช่น 0.25 และ0.5% timoptol
- Sympathomimetic drugs ลดการสร้างนํ้าเลี้ยง
ลูกตา เพิ่มการไหลเวียนโลหิต เช่น epinephrine
- Carbonic anhydrase-inhibitors ลดการสร้าง
นํ้าเลี้ยงลูกตา เช่น acetazalamide (diamox)
- Hyperosmotic agents ทําให้ osmotic pressure
ในเลือดสูงขึ้นทําให้ดึงนํ้าออกจากเซลล์มานอก
เซลล์และขับนํ้าออกทางไต
การทําผ่าตัด
- การตัด Trabecular meshwork
ร่วมกับตาขาว ครึ่งหนึ่งเหมาะสําหรับต้อหินชนิดมุมเปิด เป็นการ
ผ่าตัดท่ีทําให้เกิดทางเช่ือมต่อระหว่าง ช่องหน้าลูก
ตา กับช่องใต้เยื่อบุตา
- Peripheral iridectomy ( PI ) การตัดม่านตา
บริเวณฐานให้เปินรู เพื่อเปิดทางให้นํ้าเลี้ยงในลูก
ตาจากช่องหลังลูกตาเข้าสู่ช่องหน้าลูกตาแล้ว
ไหลเวียนตามปกตินิยมใช้ในต้อหินชนิดมุมปิด
- Cyclotherapy การผ่าตัดทําลาย cilliary body ใช้ในผู้ที่มีต้อหินและรักษาโดยทางยาหรือ
ผ่าตัดข้างต้นไม้ได้ผลหรือในผู้ป่วยที่เป็นต้อหิน
- Goniotomy การใช้เครื่องมือกรีดที่มุมของช่อง
หน้าม่านตาเพื่อให้เนื้อเยื่อที่หนาตัวผิดปกติที่มุม
ม่านตาขาดออกมักทำในผู้ป่วยต้อหินแต่กําเนิด
- lazer trabeculoplasty
การใช้แสงเลเซอร์ ท่ีนิยมใช้คือ Argon lazer
trabeculoplasty (ALT) และ Lazer peripheral iridotomy (LPI)
การพยาบาล
- ในผู้ป่วยต้อหินจะให้ยาขยายม่านตา และสังเกตการ
ขยายตัวของรูม่านตาถ้าไม่ขยายหรือขยายตัวน้อยให้
แจ้งแพทย์ก่อนส่งเข้ารับการผ่าตัด
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาลดความดันลูกตาเพื่อป้องกัน
การเลื่อนไหลของวุ้นตาออกมาซึ่งทําให้เกิดการลอก
หลุดของจอประสาทตาได
- ถ้าผู้ป่วยได้รับยาระงับความรู้สึกทั่วร่างกาย มักได้รับการ
retained foley’ s catheter เพื่อลดจํานวนปัสสาวะจากการท
ยาส่งผลให้สร้างปัสสาวะจํานวนมาก
- หลังผ่าตัดแนะนําผู้ป่วยไม่ควรตะแตงทับข้างที่ผ่าตัด เพื่อ ป้องกันไม่ให้ความดันลูกตาข้างนั้นสูงขึ้น ให้ผู้ป่วยนอนบน เตียง 6-24 ชม.
-
ชนิดของต้อหิน
- ต้อหินชนิดปฐมภูมิ (primary glaucoma) เกิดจากความ
ผิดปกติของทางเดินนํ้าเลี้ยงลูกตา
- ต้อหินชนิดทุติยภูมิ (secondary glaucoma) เกิดตาม หลังโรคตาบางโรคหรือโรคภายนอกลูกตาก็ได้ เป็นได้ทั้งมุมเป็ดและมุมปิด
- ต้อหินโดยกําเนิด (congenital glaucoma) พบได้ตั้งแต่ แรกเกิด จากพันธุกรรม
ผลกระทบจากต้อหิน
- ความดันภายในลูกตาสูง (ปกติ 10-20 มม. ปรอท) ความดันลูกตาสูงเกิดจาก ความผิดปกติของระบบการไหลเวียนของนํ้า เอเควียส (aqueous humor)
- ขั้วประสาทตาถูกกดให้บุ๋ม (cupping of the disc)
- มีลานสายตา (visual field ) แคบกว่าปกติ
2.1 ต้อหินชนิดทุติยภูมิชนิดมุมเปิด เกิดตามหลังโรค ตาบางโรคหรือโรคภายนอกลูกตาก็ได้เป็นได้ท้ัง มุมเปิดและมุมปิด พบในผู้ที่เป็นเบาหวาน หรือ ความดันโลหิตสูง หรือสายตาสั้น
2.2 ต้อหินชนิดทุติยภูมิชนิดมุมปิด มักเกิดตามหลัง
การมีความผิดปกติภายในลูกตามาก่อน
เช่น การอักเสบในลูกตาอุบัติเหตุของลูกตา
1.primary glaucoma
- ต้อหินชนิดปฐมภูมิ (primary glaucoma) เกิดจาก
ความผิดปกติของทางเดินนํ้าเลี้ยงลูกตา มี 2 แบบ
1.1 ต้อหินปฐมภูมิชนิดมุมเปิด POAG (primary open angle glaucoma)
เกิดจากการตีบแคบของท่อ ตระแกรงที่เป็นทางระบายนํ้าเลี้ยงลูกตาทําให้การ ระบายลดลงทําให้ความดันในลูกตาสูงขึ้นทีละน้อย ประมาณ 24 mmHg หรือสูงกว่า การทําลายประสาท ตาเกิดขึ้นช้าๆ
1.2 ต้อหินปฐมภูมิชนิดมุมปิด PACG (primary angle closure glaucoma)
เกิดจากมีการปิดกั้น ทางไหลออกของนํ้าเลี้ยงลูกตา ทําให้การระบาย นํ้าเลี้ยงในลูกตาลดลงและนํ้าเลี้ยงลูกตาจะ
พยายามดันออกมาด้านหน้า ทําให้ม่านตาโป่งออกมา
ต้อหินโดยกําเนิด พบได้ตั้งแต่แรกเกิด จากพันธุกรรมทําให้มีความผิดปกติของการโตของมุมม่านตา คือ การสร้างเน้ือเยื่อท่ีหนาตัวผิดปกติ
ทําให้ไม่สามารถระบายน้ําเลี้ยงลูกตาได้
อาการ
อาการ ปวดตา ตามัว กระจกตาบวม เห็นเป็นสีรุ่งรอบ
ดวงไฟ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ความดันลูกตาสูง
ลานสายตาแคบลง อาจเดินชนของ
-
-
-
-
-
-