Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ที่มีความวิตกกังวล/เครียด - Coggle Diagram
ผู้ที่มีความวิตกกังวล/เครียด
ความวิตกกังวล
สภาวะทางอารมณ์ที่เกิดความหวาดหวั่นตึงเครียดไม่เป็นสุข ซึ่งยังไม่เกิดเหตุการณ์ขึ้น
ระดับความวิตกกังวล
ระดับต่ำ Mild anxiety มีความวิตกกังวลเพียงเล็กน้อย กระตุ้นให้ปรับตัวเข้าสถานการณ์นั้น
ด้านร่างกาย : ตื่นตัว กระฉับกระเฉง สบตา PR,BP สูงเล็กหน้อย กล้ามเนื้อตึงตัวบริเวณใบหน้า ต้นคอ มือเท้าเย็น
พฤติกรรม : รับรู้สิ่งแวดล้อมดี จดจำมากขึ้น พฤติกรรมปกติ ทำกิจกรรมได้
การเรียนรู้และตัดสินใจ : คิดแก้ปัญหาได้ ช่วยกระตุ้นการแก้ไขปัญหาให้ดีขึ้น คิดสิ่งใหม่ได้
การพยาบาล : แสดงการยอมรับ ให้กำลังใจ กระตุ้นให้แก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
ระดับปานกลาง Moderate anxiety มีความตื่นตัวมากขึ้น การรับรู้แคบลง อาจมีการปรับตัวสูง หรือความั่นใจลดลง
ด้านร่างกาย : PR,BP สูงมากขึ้น กระฉับกระเฉงมากขึ้น เหงื่อออก หายใจเร็ว พูดเร็ว ม่านตาขยาย
พฤติกรรม : การรับรู้ถูกจำกัดเฉพาะสิ่งที่สนใใจ หมกหมุ่นกับสิ่งที่ทำ ว่ิงไวจนดูลุกลี้ลุกลน ต้องลุกเดินใช้แรงจึงมีสมาธิ
การเรียนรู้และตัดสินใจ : เรียนรู้ได้ดีโดยต้องมีการควบคุมสมาธิ คิดแก้ปัญหาที่จุดเดียวอย่างมุ่งมั่น
การพยาบาล : ให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก ช่วยผู้ป่วยสำรวจความรู้สึกตนเอง ส่งเสริมการ่ผอนคลายความวิตกกังวล ช่วยให้ปรับตัวและมีความสามารถในการแก้ปัญหา
ระดับรุนแรง Severe anxiety การรับรู้สภาพแวดล้อมผิดไปจากความจริง การแก้ปัญหาลดลง ไม่รู้เวลา สถานที่
ด้านร้างกาย : PR,BP สูงขึ้น หายใจหอบ กล้ามเนื้อตึง แข็งแกร่ง ปากแห้ง เบื่ออาหาร คลื่นไส้ BT สูง ไม่สบตา มีความเจ็บป่วยทางกาย
พฤติกรรม : ไม่รับรู้ื ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ไม่ได้ยินเสียงที่เราบอก ลุกลี้ลุกลน กระสับกระส่าย พูดมาก/เร็วจนฟังไม่รู้เรื่อง ตรงกันข้ามอาจพูดไม่ออก เสียงสั่นรัว
การเรียนรู้และตัดสินใจ : ความคิดสับสน ไม่รู้เวลาสถานที่ คิดไม่ออก สินสินใจไม่ดี หวาดกลัว จำไม่ได้ ไม่มีความคิดสร้างสรรค์
การพยาบาล : อยู่เป็นเพื่อนให้ผู้ป่วยให้รู้สึกปลอดภัย ลดสิ่งกระตุ้น ตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
ระดับรุนแรงที่สุด Panic anxiety ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ พฤติกรรมถดถอย ไมาสามารถตัดสินใจได้ หรือแก้ปัญหาได้ อ่จมีอาการอ่อนเพลีย พูดเสียงสูง เสียงสั่น พุดน้อยลง
ด้านร่างกาย : สามารถทำในสิ่งที่ยามปกติทำไม่ได้ BPต่ำ หมดแรงจะเป็นลม ซีด สีหน้าตกใจ แขนขาขยับไม่ได้ หมดสติ shock
พฤติกรรม : รุนแรงต่อตนเองและผู้อื่น หนี ตกใจ กลัวตาย พูดไม่รู้เรื่อง เสียงดัง ถามคำถามซ้ำๆ อาจมีประสามหลอน
การเรียนรู้และตัดสินใจ : ความคิดสับสนไม่ต่อเนื่อง รับรู้ผิด ไม่เข้าใจคำสั่ง ไม่รู้เวลาสถานที่ แก้ปัญหาไม่ได้
การพยาบาล : = ช่วยให้ผู้ป่วยสงบ ปกป้องให้ปลอดภัย ลดสิ่งกระตุ้น ตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
การพยาบาล
mild
ตระหนักรู้ว่า anxiety
moderate
ตระหนักรู้ว่า anxiety ค้นหาสาเหตุ เผชิญความเครียดได้เหมาะสม กรตุ้รให้เผชิญได้เหมาะสม กระตุ้นให้ทำกิจกรรม ใช้เทคนิคผ่อนคลาย
severe/panic anxiety
สัมพธภาพ เป็นผู้รับฟังที่ดี ให้โอกาสระบายความรู้สึก ป้องกันอันตรายยโดยลดสิ่งกระตุ้น
การวิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวลเนื่องจากไม่สามารถควบคุมหรือแก้ไขปัญหาได้
เผชิญปัญหาไม่เหมาะสมเนื่องจากรู้สึกเป็นห่วงกังวล
กระบวนกสนคิดเปลี่ยนแปปลงเนื่องจากวิตกกังวลระดับรุนแรง
สร้างสัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ เพื่อให้รู้สึกไว้วางใจ มั่นคง ปลอดภัย
ส่งเสริมให้ควบคุมหรือลดความวิตกกังวลโดยกสนฝึกผ่อนคลาย
ดูแลให้ได้รับยา sedative
ช่วยเหลือให้ผู้ป่วยได้เผชิญปัญหาอย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมลดความวิตกกังวล
ความเครียด
เป็นอาการที่ร่างกายและจิตใจเกิดการตื่นตัวกับเหตุการณื ทำให้เกิดความหนักใจเป็นทุกข์ และอาจทำให้เกิดอาการผิดปกติทางร่างกายและพฤติกรรมตามไปด้วย
สาเหตุ :
ภายนอกตัวบุคคล
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
สังคมและสัมพันธภาพกับคนอื่นๆ
สภาวการณ์และเหตุการณือื่นๆ
ภายในตัวบุคคล
ระดับเหตุการณ์
การรับรู้และการแปลเหตุการณ์
สิ่งที่คุกคามต่อภาพพจน์ของบุคคล
ความเจ็บปวด
การเคลื่อนไหวไม่ได้
การสูญเสียและเปลี่ยนแปลง
ผลกระทบ
1.ระยะเตือน (Alarm reaction) เป็นปฏิกิริยาตอบสนองของบุคคลต่อสิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้นที่ก่อให้เกิดภาวะเครียดในระยะแรก
2.ระยะต่อต้าน (Stage of resisstance) ปรับตัวอย่างเต็มที่ต่อตัวกระตุ้นที่เกิดความเครียด
3.ระยะหมดกำลัง (The stage of exhaustion) ความสามารถในการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตต้องมีจุดจบ
ความเครียดส่งผลต่อร่างกายและจิตใจ ดังนี้
1.ความผิดปกติทางร่างกายยหรือที่เรียกว่าอาการไซโคโซมาติค มีสาเหตุมาจากปัญหาทางอารมณ์แต่อาการปรากฏทางกาย
2.ความผิดปกติทางจิตใจ ได้แก่ กลัวโดยไร้เหตุผล ขาดความเชื่อมั่น วิตกกังวล หลงลืม ไม่มีสามธิ หงุดหงิด โกรธง่าย เบื่อ ซึมเศร้า สิ้นหวงั หมดความรู้สึก
3.ความผิดปกติทางพฤติกรรม ได้แก่ การรับประทานอาหาร สูบบุหรี่ ดื่มสุรา
ระดับความเครียด
1.ระดับต่ำ เป็นความเครียดมี่เกิดขึ้นและหมดไปในระยะเวลาอันสั้น
2.ระดับปานกลาง รุนแรงกว่าระดับแรก อยู่นานเป็นวัน
3.ระดับสูง รุนแรงงมากอยู่เป็นเดือน เป็นปี
พยาบาลต้องช่วยเหลือบุคคลที่มีความเครียด
ส่งเาริมศักยภาพของบุคคลในการจัดการสิ่งกระตุ้น
เป้าหมาย สั้น อาการน้อย
เป้าหมาย ยาว ใช้ศักยภาพที่มีประโยชน์สูงสุด
บทบาทพยาบาลในการช่วยเหลือที่มีความเครียด
1.พยาบาลช่วยดึงเอาประโยชน์ทั้งภายในและภายนอก สร้างเสริมความสามารถให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ลดความเครียดทางอารมณื
2.พยาบาลช่วยให้มองเหตุการณ์ใหม่ มอลหายแง่ หลายมุม
3.พยาบาลช่วยให้ความรู้ในเรื่องบุคคลกภาพ สอนวิธีคลายเครียด
4.พยาบาลช่วยบุคคลให้ตระหนักถึงกลไกการแก้ไขปัญหา
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
อารมณ์แปรปรวนไม่อยู่ในภาวะสมดุลเนื่องจากเกิดภาวะสูญเสีย
ความดันโลหิตสูงเนื่องจากมีการสูญเสียการทำหน้าที่ของร่างกาย
เกิดโรคอ้วนเนื่องจากรับประทานมากเพื่อลดการซึมเศร้า
เน้นการช่วยเหลือสนับสนุนให้ปรับตัวได้
การสนับสนุนให้รับรู้ความจริง
การให้ความรู้ และเป็นที่ปรึกษา