Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถภาพความเป็นครู - Coggle Diagram
การเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถภาพความเป็นครู
พัฒนาครูโดยคณะกรรมการข้าราชการครู (ก.ค.ศ.)
4. ใช้วิธีการที่เหมาะสม ยกระดับ เกิดประโยชน์สูงสุด
5. มุ่งผลในทางปฏิบัติ
3. พัฒนาทั้งระบบ ตั้งแต่ครูบรรจุใหม่
6. ร่วมมือกับทุกหน่วยงาน
2. มุ่งพัฒนา ควรมรู้ ทักษะ เจตคติ ข้าราชการครู
7. จัดสรรงบ
1. ส่งเสริมการพัฒนาข้าราชการครู ทุกคน
8. กำกับดูแล ตามนโยบาย
คุรุสภา
บทบาท
การงานพัฒนาครูของคุรุสภา
การระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู
การอบรมของคุรุสภา
งานส่งเสริมองค์กรวิชาชีพครูที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนาวิชาชีพ
นโยบายวิชาชีพครูของคุรุสภา
พัฒนาวิชาชีพครู สร้างเยาวชน สร้างชาติ**
เสริมสร้างความมั่นคงให้แก่ครู ให้มีสวัสดิการมีศักดิ์ศรีสมเป็นปูชนียบุคคล
สถานศึกษา
ฝึกอบรม
ขั้นตอนการฝึกอบรม
3.ขั้นทำให้เกิดความเที่ยงตรง
ฝึกซ้อมการนำเสนอ ทดสอบความถูกต้องก่อนนำเสนอ
4.ขั้นปฏิบัติ
ดำเนินการฝึกอบรมและปฏิบัติซึ่งมุ่งเสนอความรูและทักษะของการปฏิบัติงาน
2.ขั้นออกแบบเนื้อหาการฝึกอบรม
2.2 จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆให้พร้อมสำหรับการอบรม
2.3 ดำเนินการฝึกอบรมด้วยความรอบคอบมีคุณภาพและมีประสิทธิผล
2.1รวมรวมวัตถุประสงค์ วิธีการสอนและสื่อการสอนตลอดจนคำอธิบายและลักษณะการจัดเรียงลำดับของเนื้อหา
5.ขั้นการประเมินผลและติดตามผล
5.2. การเรียนรู้:ใช้เครืองมือการป้อนกลับ
5.3. พฤติกรรม (Behavior) หัวหน้าบันทึกปฏิกิริยาการปฏิบัติงาน
5.1. ปฏิกิริยา:บันทึกปฏิกิริยาของผู้เข้ารับการฝึกอบรมทีมีต่อการฝึกอบรม
5.4ผลลัพธ์ (Results) พิจารณาปรับปรุงผลการปฏิบัติงานและประเมิน ความต้องการฝกอบรมเพิม
1.ศึกษาความต้องการจําเป็นในการฝึกอบรม
1.1วิเคราห์ะรายละเอียดของงานเพื่อใช้กำหนดความต้องการฝึกอบรมของบุคลากรใหม่
1.2 วิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานโดยเปรียบเทียบความแตกต่างกับมาตรฐานของงานพร้อมทั้งหาสาเหตุของปัญหา
ประเภทของการฝึกอบรม
แบ่งตามลักษณะผู้เข้ารับการอบรมเพื่อความรู้จักงาน ความคุ้นเคยและประโยชน์
แบ่งตามลักษณะงาน
2.2 เรียนรู้งานโดยทําไปด้วย
2.3 ฝึกอบรมเพิ่มความรู้ความชํานาญ
2.1 ฝึกอบรมก่อนเข้าทํางาน
2.4 ส่งครูบุคลากรออกไปศึกษาดูงานข้างนอก
องค์กรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครูของไทย มี 3 กลุ่ม
องค์กรใช้ครู 3 กลุ่ม
สถานศึกษาสังกัดองค์กรท้องถิ่น
สถานศึกษาเอกชนหรือหน่วยงานพิเศษของรัฐอื่นๆ
สถานศึกษาสังกัดเขตพื้นที่
องค์กรพัฒนาวิชาชีพครูเฉพาะด้าน
แบบไม่เป็นทางการ เช่น สหภาพครู ชมรมครูต่าง ๆ
แบบเป็นทางการ มีกฎหมารับรองคือ “คุรุสภา”
องค์กรผลิตครู มี 4 กลุ่ม
กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ 38 แห่ง
กลุ่มมหาวิทยาลัยเอิม 9 แห่ง
ศึกษาศาสตร์สังกัดมหาวิทยาลัยเดิม 16 แห่ง
กลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชน
แผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2560-2579
เป้าหมายและตัวชีวัดที่สำคัญ
3.ระบบการศึกษามีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถเต็มศักยภาพมีตัวชีวัดที่สำคุญเช่น มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ(O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะเเนนร้อยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้นเป็นต้น
4.ระบบบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษาที่คุ้มค่าและบรรลุเป้าหมายมีตัวชี้วัดเช่น ร้อยละของสถานศึกษาขนาดเล็ก ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิณคุณภาพลดน้อยลง
2.ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมาย ได้รับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างเท่าเทียม เช่นค่าใช้จ่ายในการศึกษา 15 ปี
5.ระบบการศศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวัและบริบทที่เปลี่ยนแปลงมีตัวชี้วัดที่สำคัญเช่น อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านการศึกษาดีขึ้น สัดส่วนผู้เรียนอาชีวะศึกษาสูงขึ้นเมื่อเทียบกับผู้เรียนสามัญศึกษา
1.ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานอย่างทั่วถึงเช่นประชากรกลุ่มอายุ 6-14 ปี
6 ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 2:การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรรม เพื่อสร้าง
ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
2.สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความ
เชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน
3.การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและ
มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ มี
1.กำลังคนมีทักษะที่สำคัญจำเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของ
ตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ มี
ยุทธศาสตร์ที่ 3:การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียน
2.คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐาน
การศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ
4.แหล่งเรียนรู้ สื่อตำราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและ
มาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่
7.ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม
มาตรฐาน ม
5.ระบบและกลไกการวัด การติดตาม และประเมินผลมีประสิทธิภาพ
3.สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตาม
หลักสูตรอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน
6.ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้มาตรฐานระดับ
สากล
1.ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและ
คุณลักษณะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21
ยุทธศาสตร์ที่4:การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
2.การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสำหรับคนทุกช่วงวัย
3.ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจุบัน เพื่อการวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมิน และรายงานผล
1.ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 1:การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
2.คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่
พิเศษได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
3.คนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษา การดูแลและป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิต
รูปแบบใหม่
1.คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ยุทธศาสตร์ที่ 5 : การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม
2.หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม
3.การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
1.คนทุกช่วงวัย มีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และ
นำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัต
ยุทธศาสตร์ที่6: การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
3.ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนและพื้นที่
4.กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะที่แตกต่างกันของผู้เรียน สถานศึกษา และความต้องการกำลังแรงงานของประเทศ
5.ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความ
เป็นธรรม สร้างขวัญกำลังใจ และส่งเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างเต็มตามศักยภาพ
2.ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
1.โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัวชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้
การพัฒนาศักยภาพ
และสมรรถภาพตนเองของครู
วิธีการพัฒนาตนเอง
(4) ฝึกตนให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง
(5) ทำให้ตนเป็นที่ต้องใจของผู้อื่น
3) เป็นคนทำงานรวดเร็วลักษณะคนทำงานรวดเร็ว
(6) ทำให้ตนเป็นที่รู้จักกาลเทศะ
(2) เป็นคนขยันขันแข็ง ลักษณะคนขยัน
(7) ทำให้ตนเองเป็นที่น่าเชื่อถือ
(1) ฝึกตนเองให้เป็นคนตรงต่อเวลา
มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพครู พ.ศ.2556
มาตรฐานที่6 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้เรียน
มาตรฐานที่7 รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ
มาตรฐานที่4 พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง
มาตรฐานที่8 ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน
มาตรฐานที่3 มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ
มาตรฐานที่9 ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐานที่5 พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
มาตรฐานที่10ร่วมมือกับผู้อื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐานที่2 ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดแก่ผู้เรียน
มาตรฐานที่ 11 แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา
มาตรฐานที่1ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยู่เสมอ
มาตรฐานที่ 12 สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์
คือ การส่งเสริมพัฒนาครูให้แสดงความสามารถสูงสุด เป็นคุณสมบัติที่แผงอยู่ในตัว ให้ปรากฎออกมาประจักษ์แก่นักเรียนและสังคม*