Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 26 ปี G4P3003 Last 6 years GA7+3 week - Coggle Diagram
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 26 ปี G4P3003 Last 6 years GA7+3 week
ประวัติทางสูติกรรม
G4P3003 Last 6 years LMP : 20/12/63 EDC : 27/09/64 GA7+3 weeks by LMP
การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์ ไตรมาตรที่ 1 (1-3 เดือน)
สมองทารกถูกสร้างภายหลังปฏิสนธิ เมื่ออายุครรภ์ 8 สัปดาห์ ระบบใยสมองเริ่มเชื่อมโยงเป็นร่างแห เซลล์สมองแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ประมาณนาทีละ 250,000 เซลล์ เพื่อสร้างเนื้อสมอง ตัวทารกมีขนาดประมาณเม็ดถั่วแดง ซี่โครงและกระดูกที่เป็นเนื้อเยื่ออ่อนเริ่มมีแคลเซียมมาสะสมอย่างรวดเร็วเกิดเป็นกระดูกแข็ง
การตรวจร่างกาย
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์
น้ำหนัก 62 kg.ส่วนสูง 168 cm BMI = 21.96
น้ำหนักหลังตั้งครรภ์
น้ำหนัก 64 kg. ส่วนสูง 168 cm. BMI = 22.68
สัญญาณชีพ
BT= 36.1 องศาเซลเซียส PR = 95 bpm. BPM = 139/81 mmHg.
Conjunctiva not pale,No pitting edema,Thyroid grade 0, Nipple grade 2, ฟันผุหลายซี่ มีหินปูน
ประวัติหญิงตั้งครรภ์
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
2 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล ประจำเดือนไม่มา ตรวจปัสสาวะได้ผลบวก จึงมาฝากครรภ์ที่โรงพยาบาล น้ำหนัก 62 kg ส่วนสูง 168 cm. BMI= 21.96 V/S BT=36.1 องศศาเซลเซียส BP=139/81 mmHg ปัสสาวะ Neg./Neg
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
พ.ศ.2553 เคยผ่าตัดฝีที่หน้าอก
อาการสำคัญ
มาฝากครรภ์ครั้งแรก
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
มารดาเป็นโรคเบาหวาน รักษาด้วยการกินยา
ข้อมูลส่วนตัว
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 26 ปี สถานภาพ โสด เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ การศึกษา ม.3 อาชีพ รับจ้าง รายได้ 12,000 บาท/เดือน สิทธิการรักษา บัตรทอง ที่อยู่ 158 หมุ่ 1 ต.สาวะถี อ.เมือง จ.ขอนแก่น
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.เสี่ยงต่อการแท้ง เนื่องจากอายุครรภ์อยู่ในช่วงไตรมาตรที่ 1
2.เสี่ยงต่อทารกคลอดก่อนกำหนดและน้ำหนักตัวน้อย เนื่องจากมารดามีฟันผุหลายซี่
3.เสี่ยงต่อการเกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์ เนื่องจากมารดาของหญิงตั้งครรภ์เป็นโรคเบาหวาน
4.เสี่ยงต่อการเกิดภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ เนื่องจากสุขภาพช่องปากอักเอบจากการมีฟันผุหลายซี่
5.ส่งเสริมการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ในไตรมาตรที่ 1
การตั้งครรภ์ไตรมาตรที่ 1 อาการเปลี่ยนแปลงของคุณแม่
1.เลือดออกทางช่องคลอด : ประมาณร้อยละ 25 ของคนตั้งครรภ์จะมีเลือดออก เลือดที่ออกจะมีปริมาณเล็กน้อยเกิดจากตัวอ่อนฝังตัวที่มดลูก แต่หากมีเลือดออกมากและร่วมกับมีอาการปวดท้อง อาจเกิดการแท้งบุตรหรือ
2.คัดเต้านม : เป็นอาการที่เกิดหลังการตั้งครรภ์เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน จะคัดเต้านม เต้านมจะมีขนาดใหญ่ขึ้นจนต้องเปลี่ยนยกทรง 3.ท้องผูก : เนื่องจากฮอร์โมนของการตั้งครรภ์จะทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวลดลงจึงทำให้เกิดอาการท้องผูก แก้โดยการรับประทานผักเพิ่ม ดื่มน้ำเพิ่ม และออกกำลังกาย 4.อาการอ่อนเพลีย 5.แน่นท้อง 6.แพ้อาหารบางประเภท 7.อารมณ์แปรปรวน 8.ปัสสาวะบ่อย 9.ปวดศีรษะ 10.จุกเสียดบริเวณลิ้นปี่
การพยาบาล
การพยาบาลข้อที่ 1
1.ประเมินความรู้ของหญิงตั้งครรภ์ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ในช่วงไตรมาตรแรก เช่น สังเกตอาการเลือดออกทางช่องคลอด หากพบให้มาพบแพทย์ เพื่อป้องกันการเกิดการแท้ง 2. ให้ความรู้เกี่ยงกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ในช่วงไตรมาตรแรก เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลตนเองให้สุขภาพดีทั้งแม่และลูก
การพยาบาลข้อที่ 2
1.ประเมินการเกิดฟันผุของหญิงตั้งครรภ์ เพื่อประเมินความรุนแรงของการเกิดฝันผุในหญิงตั้งครรภ์ 2.สอบถามการดูแลสุขภาพช่องปากของหญิงตั้งครรภ์ เพื่อประเมินความถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปาก 3.ให้ความรู้และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องให้กับมารดา เพื่อจะได้ปฏิบัติได้ถูกต้อง 4.ให้ความรู้ถึงภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ หากมีฟันผุหลายซี่ปละมีหินปูน เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลปากและฟัน 5.แนะนำให้มมารดามารักษาฟันผุหลายซี่ด้วยการอุด และมาขูดหิปูนเมื่อายุครรภ์ครบ 4-6 เดือน เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
การพยาบาลข้อที่ 3
1.สอบถามประวัติการเป็นโรคเบาหวานในครอบครัว เพื่อประเมินความเสี่ยงที่จะเกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์ 2.ประเมิน BMI ของหญิงตั้งครรภ์ และการการรับประทานอาหารที่มีรสหวาน เพื่อประเมินความเสี่ยงของการเกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์ 3.ให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหาร เช่น ลดอาหารที่มีน้ำตาลสูง และควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ เพื่อป้องกันการเกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์
การพยาบาลข้อที่ 5
1.อาหาร : ทานอาหารตามปกติเหมือนก่อนตั้งครรภ์เท่าที่ทานได้ ถ้าหากมีอาการคลื่นไส้อาเจียน ควรรับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย หรือเครื่องดื่ม น้ำหวานแต่ไม่ควรดื่มปริมาณมากเกินไป เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ 2.การฝากครรภ์ มีความสำคัญ เพื่อให้คุณแม่และบุตรมีการดูแลตลอด 9 เดือน เพื่อให้มารดาปฏิบัติขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ 3.การรับวัคซีน หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่เคยได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยักมาก่อน จะแีดวัคซีนบาดทะยัก 2 เข็มห่างกันอย่างน้อย 1 เดือนในไตรมาตร 1-2 เพื่อให้มารดาได้มีภูมิคุ้มกัน 4.สังเกตอาการผิดปกติขณะตั้งครรภ์ เช่น เลือดออกทางช่องคลอดมากผิดปกติ เพื่อป้องกันการแท้ง
การพยาบาลข้อที่ 4
1.ให้ความรู้เกี่ยวกับการเกิดโรคหิตจางจากสาเหตุที่มาจากการอักเสบในช่องปาก เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้เข้าใจ
2.ส่งเสริมให้มารดาดูแลสุขภาพช่องปากให้สะอาด เพื่อป้องกันการเกิดฟันผุเพิ่ม เลือดจะได้ไม่มาเลี้ยงบริเวณที่อักเสบมากเกินไป 3.ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานอาหารที่เสริมธาตุเหล็ก เช่น เครื่องในสัตว์ ตับ ถั่ว นม เพื่อให้ได้รับธาตุเหล็กไปสร้างเม็ดเลือดแดง