Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลกระทบของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม - Coggle Diagram
ผลกระทบของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
ด้านร่างกาย
มีผลต่อการปรับตัว หากผู้ป่วยปรับตัวได้ต่อการได้รับการินิจฉัยโรคว่าเป็นโรคมะเร็งเต้านมไม่ดีก็จะพบความผิดปกติของร่างกาย เช่น รู้สึกหายใจไม่เต็มอิ่ม ท้องผูก ท้องเสีย นอนไม่หลับ หลงลืมง่าย เป็นต้น
ด้านอัตมโนทัศน
เกี่ยวข้องกับความเชื่อและความรู้สึกของตนเอง เช่น มีความวิตกกังวล มีความรู้สึกผิด รู้สึกมีคุณค่าในตนเองน้อยลง อยู่ในภาวะซึ่งไร้อำนาจ แสดงพฤติกรรมออกมาในรูปแบบของการมีสมาธิลดลง ละเลยการดูแลตนเอง เป็นต้น
ด้านการแสดงบทบาทหน้าที่
เช่น การรับบทบาทภาระหนักเกินไป การไม่เต็มใจ
ที่จะรับบทบาท มีความขัดแย้งในการด ารงบทบาท
เป็นต้น
4.การปรับตัวด้านการพึ่งพาอาศัยผู้อื่น
(interdependence) รวมถึงสัมพันธภาพกับบุคคล
ที่มีความสัมพันธ์และระบบสนับสนุน แสดงความ
สมดุลระหว่างพฤติกรรมพึ่งพา ถ้าการปรับตัวด้าน
นี้ไม่มีประสิทธิภาพจะเกิดปัญหาความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล เช่น มีความรู้สึกโดดเดี่ยว ว้าเหว่
ห่างเหิน เป็นต้น ที่เกิดขึ้นนี้จะท าให้บุคคลเกิด
ความรู้สึกไม่มั่นคงในสังคม มีความเครียดและ
ความเจ็บป่วยตามมาได้
เมื่อพิจารณาตามทฤษฎีการปรับตัวของ
รอย การที่บุคคลได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้า
นม นับเป็นสิ่งเร้าตรงที่คุกคามต่อผู้ป่วย แม้ว่าการ
รักษาโรคมะเร็งจะมีความก้าวหน้าไปมากก็ตามแต่
ผู้ป่วยและญาติหรือบุคคลทั่วไปก็ยังมีความเชื่อว่า
มะเร็งหมายถึงความตาย เป็นมะเร็งรักษาไม่หายไม่
สามารถคาดหวังผลการรักษาได้ เป็นโรคที่น่ากลัว
เพราะไม่สามารถควบคุมการแพร่กระจายได้ ต้อง
พบกับความเจ็บปวด ความไม่สุขสบ ายจาก
ผลข้างเคียงของการรักษา ถึงแม้ว่าจะให้ความ
ร่วมมือในการรักษาแต่อาจจะไม่ได้ผลลัพธ์ตามที่
ต้องการได้ และซึ่งความคิด ความรู้สึกและทัศนคติ
ต่อโรคมะเร็งในทางลบเป็นสิ่งเร้าเงียบ (residual
stimuli) สิ่งเร้านี้จะเข้าสู่ระบบของบุคคล ท าให้
บุคคลมีกลไกการเผชิญปัญหาคือมีปฏิกิริยา
ตอบสนองต่อโรคโดยอาจจะตอบสนองแบบเป็น
ทุกข์และท้อถอย (Distress response) เช่น ตกใจ
กลัว กังวล เครียด ผิดหวัง ซึมเศร้า โกรธ ปฏิเสธ
หมดหวัง หมดหนทางช่วยเหลือ เป็นสิ่งที่น่ากลัว
รับรู้