Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:<3:บทที่ 9 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ ตา คอ จมูก…
:<3:
บทที่ 9 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ ตา คอ จมูก ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
!
ตา
:
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการมองเห็น
:<3:
การประเมินและการตรวจ วินิจฉัยตา
1. การตรวจร่างกายส่วนองค์ประกอบของตาที่มองเห็นได้
:
2. การตรวจโดยใช้เครื่องมือพิเศษ
::
2.1 การวัดสายตา (visual acuity)
โดยใช้ Snellen
chart และ E- chart
2.2 การวัดความดันลูกตา (tonometry)
ใช้มือกดTactile tension
2.3 การส่องตรวจภายในลูกตาด้วย ophthalmoscope
2.4 การตรวจตาด้วย (slit lamp)
2.7 การตรวจตาบอดสี (color blindness examination)
2.5 การตรวจลานสายตา (visual field examination)
2.8 การวินิจฉัยโรคด้วย DNA
2.6 การตรวจกล้ามเนื้อตา (ocular muscles examination)
โรคตาที่พบบ่อย
:!!:
เยื่อบุตาขาวอักเสบ (Conjunctivitis) ต้อกระจก (Cataract) ต้อหิน (glaucoma) จอประสาทตาลอก (Retinal detachment) Eye injury, Hyphema, แผลที่กระจกตา (corneal ulcer) Diabetic retinopathy
:
การติดเชื้อของตา
:
เยื่อบุตาขาวอักเสบ Conjunctivitis
เป็นการอักเสบติดเชื้อของเยื่อบุตาแบ่งเป็น 3 ชนิด ตามสาเหตุ
:
2. เยื่อยุตาอักเสบจากเชื้อไวรัส :: Viral Conjunctivitis
อาการ
ตาแดง เคืองตา หนังตาบวมเล็กน้อย มีขี้ตา
เล็กน้อย
สาเหตุ
ติดเชื้อไวรัส เช่น adenovirus ติดต่อโดยการสัมผัสน้ำตาโดยตรงเล่นน้ำในสระว่ายน้ำ
การรักษา
ใช้ยาป้ายตาหรือหยอดตา ยาปฏิชีวนะ
:<3:
3. เยื่อบุตาอักเสบจากการแพ้ :: Allergic Conjunctivitis*
อาการ
คันตามาก ตาบวม น้ำตาไหล มักไม่มีขี้
ตา ตาแดงเล็กน้อย
การรักษา
1. ให้ antihistamine เช่น Hista-oph eye drop ,
Alomide eyedrop 2. ถ้าเป็นมากให้ยาแก้แพ้ เช่น CPM หลีกเลี่ยงสิ่ง
ที่แพ้
สาเหตุ
จากการแพ้ เช่น ฝุ่น ควัน เกสรดอกไม้
อากาศ เครื่องสำอาง โรคภูมิแพ้
:
1. เยื่อยุตาอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
Bacterial Conjunctivitis
สาเหตุ
เชื้อ Strep.epidermidis, Staph.aureus ติดต่อโดยการสัมผัส
อาการ
ตาแดง หนังตาบวม มีขี้ตามากเป็นสีเหลือง
หรือเขียว ไม่ปวดหรือเคืองตา
การรักษา
ใช้ยาป้ายตาหรือหยอดตา ยาปฏิชีวนะ
เช่น Terramycin eye ointment, Poly-oph eyedrop.
:check:
การป้องกัน
1. ล้างมือด้วยน้ำและสบู่ให้สะอาดอยู่เสมอ 2. ไม่คลุกคลีใกล้ชิด หรือใช้สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย 3. ถ้ามีฝุ่นละออง หรือน้ำสกปรกเข้าตา ควรล้างตาด้วยน้ำสะอาด 4. อย่าปล่อยให้แมลงหวี่ หรือแมลงวันตอมตา 5. หมั่นดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย สิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ
ผู้ป่วยโรคตาแดงควรหยุดเรียนหรือหยุดงานรักษา
ตัวอยู่ที่บ้านเพื่อป้องกันไม่ให้โรคตาแดงลุกลามหรือติดต่อสู่คนอื่น
:
กุ้งยิง
(Hordeolum) หมายถึง ตุ่มฝีเล็กๆที่เกิดที่ขอบเปลือกตา แบ่งเป็น 2 ชนิด :star:
External hordeolum / stye
เป็นการอักเสบของต่อมเหงื่อบริเวณผิวหนังตรงโคนขนตา :star:
Internal hordeolum
เป็นการอักเสบของต่อมไขมันบริเวณเยื่อบุเปลือกตา
::
อาการ
ปวดที่เปลือกตา ปวดตุบๆบริเวณที่
เป็น เป็นตุ่มแข็งแตะถูกเจ็บ บางครั้งมีหนองนูนเป่งหัวขาวๆ เหลืองๆ รอบๆนูนแดงและกดเจ็บ
:
การรักษา
1. เมื่อเริ่มขึ้นใหม่ๆ ประคบด้วยน้ำอุ่นจัดๆ 2. ให้ใช้ยาหยอดตาหรือป้ายตาที่ผสมยาปฏิชีวนะ 3. ถ้าเป็นหัวหนอง ควรสะกิดหรือผ่าเอาหนองออก
สาเหตุ
เกิดจากต่อมไขมันที่โคนตามีการอุดตันและเกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย
:
EYE INJURY
การเกิดแผลของกระจกตา อาจเกิดจากอุบัติเหตุหรือการที่เยื่อบุขั้นนอกสุดของกระจกตามีความต้านทานต่ำทำให้เกิดการตายของเนื้อเยื่อกระจกตา และถ้ามีการติดเชื้อร่วมด้วยก็จะเกิดหนองและเนื้อเยื่อกระจกตาหลุดลอกจนเกิดแผลของกระจกตาเกิดขึ้น
Retinal detachment
จอประสาทตาหลุดลอก คือ ภาวะตามัวที่เกิดจากการหลุดลอกระหว่างชั้นเส้นใยประสาท (sensory layer of retina) กับชั้นเม็ดสี(retinal pigment epithelium) ของจอประสาทตา
Cataract ต้อกระจก*
ปกติแก้วตาประกอบด้วย โปรตีนที่ใสในปริมาณที่สมดุลและมีโพแทสเซียมกับ ascorbic acid จำนวนมาก เมื่อระยะต้อสุกจำนวนน้ำที่เพิ่มขึ้นจะลดลงความหนาแน่นของแก้วตาจะค่อยๆลดลงเกิดการสูญเสียโพแทสเซียม โดยโซเดียมเข้ามาแทนที่เพื่อรักษาสมดุล
ต้อหิน (glaucoma)
ต้อหินชนิดปฐมภูมิ (primary glaucoma) เกิดจากความผิดปกติของทางเดินน้ำเลี้ยงลูกตา มี 2 แบบ ต้อหินปฐมภูมิชนิดมุมเปิด POAG (primary open angle glaucoma) 1.2 ต้อหินปฐมภูมิชนิดมุมปิด PACG (primary angle closure glaucoma)
:red_flag:
คอ
:
CA NASOPHALYNX มะเร็งหลังจมูก
การจัดระยะของมะเร็งหลังโพรงจมูก
แบ่งเป็น 4 ระยะ
Stage 1 อยู่ในโพรงจมูกข้างเดียว
มองไม่เห็นก้อนเนื้อ แต่ผลตรวจชิ้นเนื้อได้ผลบวก
Stage 2 ก้อนเนื้องอกเต็มทั้งข้างหลังและข้างหน้า
Stage 3 ก้อนเนื้องอกขยายไปยังช่องจมูกและช่องคอ
Stage 4 ก้อนเนื้องอกลุกลามไปสมอง และเส้นประสาทสมอง
การรักษาพยาบาล
รังสีรักษ
า ร่วมกับเคมีบำบัด ระยะที่ 3 -4
การผ่าตัด
ทำเฉพาะในรายที่ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
รังสีรักษา
ได้ผลดีในระยะที่ 1-2
เลเซอร์
Photo-dynamic therapy (PDT)
อาการที่ควรซักประวัติ และการวินิจฉัย
1. การรับประทานอาหารเป็นประจำ 2. อาการเปลี่ยนแปลง3. มีเลือดกำเดาไหล 4. ตามัว มองเห็นภาพซ้อน 5. ตรวจหลังโพรงจมูกพบก้อนเนื้องอก 6. การตรวจเลือดหา Ebstein-Barr Virus(EBV)
การรักษา
1. การฉายรังสี
ใช้รังสี 6,500-7,000 เซนติเกรย์ (cGy)
จำนวน 20-60 ครั้ง ในระยะเวลา 6-7 week.
2. การให้เคมีบำบัด
ยาที่ใช้มีดังนี้ cisplatin , bleomycin,
methrotrexate, 5FU (Fluororacil)
สาเหตุ : ไม่ทราบชัดเจน เชื่อว่ามีสิ่งเกี่ยวข้อง
Ebstein-Barr Virus (EBV) การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การรับประทานปลาเค็มการอักเสบของจมูกและไซนัส
:
CA LARYNX
อาการและอาการแสดง
1. ระยะแรกเสียงไม่แหบ ต่อมามีเสียงแหบ และจะเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ 2. เจ็บร้อนในคอ ลักษณะเหมือนก้างติดคอ 3. ไอ เนื่องจากสำลักน้ำลาย 4. กลืนลำบาก เจ็บเวลากลืน 5. น้ำหนักลด
การวินิจฉัย
1. การส่องกล้อง แล้วตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา 2. การทำ barium swallowing, CT scan ,MRI
สาเหตุ
ร่างกายได้รับสารรบกวน ที่รบกวนต่อ
เยื่อบุกล่องเสียงเป็นเวลานาน เช่น การสูบบุหรี่จัด การดื่มสุรา
การรักษา
ภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด
การดูแลหลังผ่าตัด
partial laryngectomy
ผ่าตัดกล่องเสียง
ออกบางส่วน Totall laryngectomy ผ่าตัดกล่องเสียง
ออกทั้งหมด
การรักษาโดยการผ่าตัด
การดูแลตนเองที่บ้าน
งดบุหรี่ สุรา การป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าไปใน stoma ทำกิจกรรมได้ตามปกติ แต่ความสามารถจะลด
ลง พบแพทย์ตามนัด เข้าร่วมชมรมผู้ไร้กล่องเสียง
การฝึกพูด
มี 3 วิธี การใช้เครื่องช่วยพูด (electro-larynx) การพูดโดยใช้หลอดอาหาร (esophageal speech) การทำผ่าตัดใส่กล่องเสียงเทียม (prosthetic voice restoration)
การดูแลด้านการกลืน
ทำอาหารให้เป็นก้อนกลม กินคำเล็กๆเพื่อให้ถึงผนังคอ หายใจเข้าแล้วกักลมไว้เพื่อให้สายเสียงมาชิดกัน กลืนอาหารทันทีขณะที่กักลมไว้ ไอ ขณะหายใจออก เพื่อขับเอาอาหารที่อยู่เหนือสายเสียงออก
การรักษาด้วยการฉายรังสี
รักษาให้หาย (Curative) ประคับประคอง (Palliative)
:<3:
จมูก
!
:<3::
Acute tonsillitis
พบในเด็กมากกว่าในผู้ใหญ่ สาเหตุ : เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ที่พบได้บ่อย คือ
β-hemolytic streptococcus group A และอาจเกิดจากเชื้อแบคทีเรียอื่นหรือไวรัส ก็ได้ซึ่งสามารถติดต่อได้ทั้งทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร
อาการและอาการแสดง
เจ็บคอ ไข้สูง อาจถึง 40.5 °C หนาวสั่น เบื่ออาหารปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย เจ็บคอมากเมื่อกลืนอาหารปวดร้าวมาที่หู อาการจะรุนแรงอยู่ 24-72 ชั่วโมง
อาการจะค่อยๆทุเลาลง
การพยาบาล
1. ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ 2. ดื่มน้ำ อย่างน้อย 2,500 cc./day 3. รักษาความสะอาดช่องปากและฟัน 4. ถ้าเจ็บมาก 5.ให้รับประทานอาหารอ่อนหรืออาหารเหลว 6. ดูแลเรื่องยาบรรเทาปวด การลดไข้ 7. ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ของแพทย์ 8. หลีกเลี่ยงสิ่งระคายเคืองในลำคอ
:<3::
Chronic tonsillitis
เกิดขึ้นเนื่องจากการอักเสบเฉียบพลันบ่อย ขาดการรักษาที่ถูกต้อง เกิดร่วมกับไซนัสอักเสบเรื้อรัง ฟันผุเหงือกอักเสบ