Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉียบพลันแล…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
การดึงถ่วงน้ำหนัก Traction
การใช้แรงดึงบริเวณแขน ขา ลำตัวหรือศีรษะโดยใช้น้ำหนักถ่วงส่วนของร่างกายในทิศทางตรงกันข้ามกับแรงดึงของกล้ามเนื้อมีวัตถุประสงค์เพื่อ ดึงกระดูกที่หัก หรือเคลื่อนให้เข้าที่บรรเทาอาการปวด อาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ ป้องกัน
ประเภทของอุปกรณ์ดึงถ่วงน้ำหนัก Traction
Skin traction
น้ำหนักดึงถ่วง 2-5 กิโลกรัม
Skeletal traction
เป็นการดึงถ่วงน้ าหนักโดยตรงที่กระดูก ด้วยแท่งโลหะขนาดใหญ่
Manual traction
การผ่าตัดเพื่อจัดกระดูกที่หักให้เข้าที่ โดยใช้วัสดุต่างๆ
การรักษากระดูกหักด้วยวิธีใส่เฝือก
ข้อดีของการใส่เฝือก
ลดความเจ็บปวด
ลด muscular spasm
ดามกระดูกและข้อให้อยู่กับที่
ดามกระดูกที่จัดเข้าที่แล้วไม่ให้กระดูกเคลื่อนออกจากที่
ชนิดของเฝือก
เฝือกพลาสติก
เฝือกปูน
ภาวะแทรกซ้อนของการใส่เฝือก
ปัญหากระดกข้อเท้า หรือ เหยียดข้อเท้าไม่ได้ หรือ เท้าตก
อาการบวม
แผลกดทับ
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืดและบางครั้งมีอาการปวดท้อง
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโดยการตัดแขนและตัดขา (Amputation)
ชนิดของการตัดแขนขา
Closed amputation
Open amputation
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล amputation
เสี่ยงต่อภาวะตกเลือดจากการผ่าตัดแขนขา
มีอาการปวด บวมบริเวณแผลหลังผ่าตัด
มีการติดเชื้อแผลผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดอุปสรรคในการใส่อวัยวะเทียมจากการผิดรูปของตอขา (STUMP)
ปัญหาทางการพยาบาล amputation
Central theory ทฤษฎีเชื่อมโยงระบบประสาท
Psychogenic Theory ทฤษฎีทางจิต
Peripheral theory ทฤษฎีเหตุประสาทส่วนปลาย
เทคนิคการพันผ้า
กรณี BKA : พันให้มีรูปร่างทรงกระบอก
(cylindrical) ใช้ผ้ายืดกว้าง 4 นิ้ว
กรณี AKA : พันให้เป็น รูปโคน
(conical) ใช้ผ้ายืดกว้าง 6 นิ้ว
ข้อเคลื่อน
ภาวะแทรกซ้อนกระดูกหักและข้อเคลื่อน
2.ระบบการไหลเวียนเลือด-ช็อก ( shock )
3.ระบบหายใจ
1.ระบบประสาท
อาการข้อเคลื่อนที่พบได้บ่อย
บวม, ปวด, กดเจ็บบริเวณข้อ
การเคลื่อนไหวข้อทำไม่ได้ หรือทำได้น้อยมาก ผู้ป่วยไม่สามารถเคลื่อนไหวข้อได้ตามปกติ
ข้อมีรูปร่างผิดปกติไปจากเดิม สีของบริเวณข้อที่ได้รับบาดเจ็บเปลี่ยนไปจากเดิม
การพยาบาลเมื่อมีข้อเคลื่อน
สิ่งแรกที่ควรทำคือ ให้ข้อนั้นอยู่นิ่งๆ ในท่าที่เป็นอยู่ อาจจะใช้มืออีกข้าง
ช่วยประคองในกรณีที่เป็นไหล่ หรือข้อศอก
ประคบด้วยน้ำแข็ง เพื่อให้เลือดออกน้อยที่สุด
อย่าพยายามดึงเข้าที่เอง เพราะอาจเกิดอันตรายถึงกระดูกหักได้ หรือ
บางรายอาจมีกระดูกหักชิ้นเล็กๆ
รีบมาพบแพทย์ให้จัดการรักษาโดยทันที
แนวทางการจัดการสำหรับผู้ป่วยกระดูกหักและข้อเคลื่อน
การใช้ความเย็น (Ice)
การพันผ้ายืด (Compression bandage)
การพัก (Rest)
การยก (Elevation)
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อ (joint replacement)
เป็นการผ่าตัดเปลี่ยนทั้งส่วนหัว
ของกระดูกต้นขา (femur) และเบ้าสะโพก (acetabulum)
Hip arthroplasty
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมแบบทั้งหมด
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมเพียง
บางส่วน
อาการข้อสะโพกมีปัญหา
ปวดข้อสะโพกเมื่อมีการเคลื่อนไหว อาจเดินไม่ได้หรือเดินกะเผลก
กดเจ็บบริเวณข้อสะโพก
มีการลีบของกล้ามเนื้อรอบๆสะโพก และกล้ามเนื้อรอบๆโคนขา
บางรายขาจะสั้นจากการหดรั้งของกล้ามเนื้อ
ปวดมากแม้อยู่ในขณะพัก
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
(knee arthroplasty)
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมแบบทั้งหมด
(total Knee replacement, TKRหรือ
total knee arthroplasty, TKA)
โรคกระดูกที่เกิดจากการติดเชื้อ
infectious orthopedics diseases
โรคข้อเสื่อม (osteoarthritis-OA)
การรักษาด้วยยา ยาแก้ปวด
การผ่าตัด (Surgical treatment)
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม
การรักษาโดยไม่ใช้ยา (Non pharmocologic therapy)
กายบริหารร่างกาย(Therapeutic exercise)
อาการ
ปวด ข้อฝืดตึงข้อใหญ่ผิดรูป มีเสียงดังกรอบแกรบ
กระดูกอักเสบจากการติดเชื้อ
(osteomyelitis)
กระดูกอักเสบติดเชื้อเฉียบพลัน (Acute Osteomyelitis)
กระดูกอักเสบติดเชื้อเรื้อรัง (Chronic Osteomyelitis)
การรักษา
การรักษาโดยทั่วไป 2. การใส่ splint หรือ traction
การให้ยาปฏิชีวนะ 4.การผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
สาเหตุ
ภาวะต่อเนื่องจาการอักเสบเฉียบพลัน
เกิดตามหลังการติดเชื้อจากอุบัติเหตุ(open fracture)
ข้ออักเสบจากการติดเชื้อ (septic arthritis)
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
Drainage
Antibiotic
Splint , traction
Supportive treatment