Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 (Protocol), การเลือกเส้นทางของเร้าเตอร์, โปรโตคอลบนชั้นสื่อสารทราน…
บทที่ 6 (Protocol)
การจัดสรรไอพีแอดเดรสแบบใช้คลาส (Classful Addressing)
คลาส C จะมีส่วนของหมายเลขเครือข่าย (NetID) ขนาด 21 บิต จำนวนเครือข่ายที่สามารถมีได้ เท่ากับ 192 - 223
คลาส D จะไม่มีการกำหนดหมายเลขเครือข่าย และถูกสงวนไว้
สำหรับเป็นมัลติคาสต์ จำนวนเครือข่ายที่สามารถมีได้ เท่ากับ
คลาส E จะไม่ถูกนำมาใช้ โดยจะถูกสงวนไว้ใช้งานในอนาคต จำนวนเครือข่ายที่สามารถมีได้ เท่ากับ 240 - 255
คลาส B จะมีส่วนของหมายเลขเครือข่าย (NetID) ขนาด 14 บิต จำนวนเครือจ่ายที่สามารถมีได้ เท่ากับ 128 - 191
คลาส A จะมีส่วนของหมายเลขเครือข่าย (NetID) ขนาด 7 บิต จำนวนเครือข่ายที่สามารถมีได้ เท่ากับ 0 - 127
โปรโตคอล IP (Internetwork Protocol)
IP เป็นกลไกการส่งข้อมูลที่ใช้โปรโตคอล TCP/IP ในลักษณะคอนเน็กชั่นเลสที่ไม่รับประกันการส่งข้อมูลว่าจะถึงจุดหมายปลายทางหรือไม่
โดยโปรโตคอล IP
จะทำหน้าที่เพียงนำส่งข้อมูลไปยังปลายทางด้วยหมายเลขไอพี
การกำหนดตำแหน่งที่อยู่ใน IPv4
TCP/IP จะกำหนดที่อยู่ด้วยไอพีแอดเดรส
โดยไอพีแอดเดรส
คือ ชุดตัวเลขฐานสองขนาด 32
ไอพีแอดเดรสจะประกอบด้วย 4 ไบต์ หรือ 4 ออคเทต (32 บิต) โดยในชุดของหมายเลขไอพี จะมีฟิลด์ 3 ฟิลด์ คือ 1.ประเภทของคลาส
2.หมายเลขเครือข่าย
3.หมายเลขโฮสต์
การส่งมอบข้อมูลจากโปรเซสถึงโปรเซส
-ทั้งสองโปรเซสจะสื่อสาร
กันในรูปแบบความสัมพันธ์แบบไคลเอนต์/เซิร์ฟเวอร์
-โปรเซสที่รันอยู่บนโลคัลโฮสต์ จะเรียกว่า ไคลเอนต์ซึ่งต้องการร้องขอบริการ
จากโปรเซสที่อยู่บนรีโมตโฮสต์ เรียกว่า เซิร์ฟเวอร์
การกำหนดตำแหน่งที่อยู่
-โปรโตคอลในชั้นสื่อสารทรานสปอร์ตเป็นกลุ่มของชุด TCP/IP ที่กำหนดการ
เชื่อมต่อในแต่ละโปรเซส เรียกว่า พอร์ต (port)
-พอร์ต เป็นหมายเลขกำกับช่องสื่อสารที่ใช้เป็นจุดเชื่อมต่อเพื่อการส่งข้อมูลระหว่างโปรแกรม
การทำซับเน็ต
จะแบ่งไอพีแอดเดรสออกเป็น 3 ระดับ คือ NetID, HostID
และการยืมบิตบางส่วนของ HostID มาใช้เพื่อกำหนดซับเน็ต
ดังนั้นการเดินทางของไอพีดาต้าแกรม จะประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ
Delivery to Site -> Delivery to Subnetwork
-> Delivery to Host
การแบ่งเครือข่ายย่อย
-จะพบว่าเมื่อได้รับไอพีแอดเดรสมาแล้ว เครือข่ายจะมีเพียง 1 ฟิสิ
คัลเน็ตเวิร์กเท่านั้น ไม่สามารถแบ่งกลุ่มเป็นเครือข่ายย่อยๆ ได้
-จำเป็นต้องแบ่งเครือข่ายออกเป็นเครือข่ายย่อย หรือ การทำซับเน็ต ด้วยการแบ่งส่วนของเครือข่ายให้มีขนาดเล็กลง
โปรโตคอลบนชั้นสื่อสารแอพพลิเคชั่น
เป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้งาน หรือมีการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ผ่านทางแอปพลิเคชั่นโปรแกรมต่างๆโดยในชั้นสื่อสารแอปพลิเคชั่นได้จัดเตรียมโปรโตคอลต่างๆ ไว้มากมายเพื่อสนับสนุนการทำงานของผู้ใช้ เช่น DHCP, DNS, TELNET, FTP,SMTP, POP, HTTP, WWW,
ซับเน็ตมาสก์ (Subnet Mask)
การทำซับเน็ตมาสก์จะดำเนินการควบคู่ไปกับการทำซับเน็ต โดยซับเน็ตมาสก์เป็นกระบวนการที่บอกให้รู้ว่า เครือข่ายที่ใช้งานอยู่นั้นมีการแบ่งเป็นซับเน็ต มีบิตที่ยืมไปเพื่อดำเนินการแบ่งซับเน็ตจำนวนกี่บิตและใช้ตำแหน่งใดเพื่อระบุเป็นหมายเลขเครือข่ายย่อย
เร้าเตอร์จะพิจารณาเลือกเส้นทางเฉพาะส่วนของหมายเลขเครือข่ายเท่านั้น โดยโฮสต์หรืออุปกรณ์ที่มีหมายเลขเครือข่ายชุดเดียวกัน จะอยู่บนเครือข่ายเดียวกัน หรือเรียกว่าอยู่บนเน็ตเวิร์กเดียวกัน
การเลือกเส้นทางของเร้าเตอร์
โปรโตคอลบนชั้นสื่อสารทรานสปอร์ต