Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงไทย อายุ 35 ปี G3P2002 Last 15 ปี GA 25+3 wks. - Coggle Diagram
หญิงไทย อายุ 35 ปี G3P2002 Last 15 ปี GA 25+3 wks.
ข้อมูลส่วนบุคคล
หญิงไทย อายุ 35 ปี อาชีพ ค้าขาย
สถานภาพ คู่
ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 6 สิทธิ์การรักษา ประกันสุขภาพถ้วนหน้า
การตรวจร่างกาย
Conjunctiva not pale
Thyroid gland not enlarge
No pitting edema
Nipple grade 3
BT = 36.9 องศาเซลเซียส
BP = 107/58 มิลลิเมตรปรอท
PR = 92 ครั้ง/นาที
RR = 18 ครั้ง/นาที
ประวัติการตั้งครรภ์
LMP : 15 สิงหาคม 2563
EDC : 22 พฤษภาคม 2564
การตรวจครรภ์
GA 25+3 wks.
ขนาดมดลูก : 1/4>ระดับสะดือ , 25 cm
ท่า/ส่วนนำ/การลง : LOA , HF , Vx
เสียงหัวใจเด็ก : 156 bpm
เด็กดิ้น : Positive
ส่งเสริมการดูแลสุขภาพ
หญิงตั้งครรภ์ในไตรมาสที่สอง
กิจกรรมการพยาบาล
1.แนะนำการรับประทานโดยระยะนี้อาการแพ้ท้องเริ่มหายไป เริ่มรับประทานอาหารได้ตามปกติ รับประทานให้ครบ 5 หมู ไม่ควรรับประทานพวกน้ำตาลหรือแป้งมากเกินไป เน้นการรับประทานโปรตีน ผัก ผลไม้ ดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้ว เพือป้องกันอาการท้องผูก รับประทานธาตุเหล็กที่มีในอาหารจำพวก ไข่แดง ตับ ผักใบเขียว
2.แนะนำการออกกำลังกายซึ่งเป็นสิ่งสำคัญ ทำให้แข็งแรง ระบบย่อยอาหารทำงานได้ดี เช่น การเดินวันละ 10-20 นาที
3.แนะนำท่านอนที่จะช่วยบรรเทาอาการปวดหลัง ควรเป็นท่านอนตะแคงขวาหรือหงายสลับกันเพื่อลดการกดทับหลอดเหลือดของร่างกาย โดยมีหมอนรองรับขาให้สูงขึ้นเพื่อลดอาการบวมที่เกิดจากกิจกรรมระหว่างวัน
4.สำรวจเต้านมเพื่อเตรียมความพร้อมในการให้นม
ข้อมูลสนับสนุน
O : G3P2002 GA 25+3 week
อยู่ในไตรมาสที่ 2 ของการตั้งครรภ์
ส่งเสริมพัฒนาการทารก
ในครรภ์ในไตรมาสที่สอง
ข้อมูลสนับสนุน
O : GA 25+3 week
อยู่ในไตรมาสที่ 2 ของการตั้งครรภ์
กิจกรรมการพยาบาล
1.ให้ข้อมูลในเรื่องพัฒนาการของทารกในช่วง สัปดาห์ที่ 25-28 โดยสมองและระบบประสาทสามรถควบคุมการทำงานของอวัยวะบางอย่างได้ สามารถลืมตา หลับตาได้ ตามีความไวต่อแสง ปอดเริ่มแลกเปลี่ยนแก๊ส มีการสร้างไขมันใต้ชั้นผิวหนัง
ทารกดิ้นแรงมากขึ้น ระบบประสาทเริ่มทำงาน จำเสียงพ่อแม่ได้ ลำตัวยาว 30 cm น้ำหนักประมาณ 600 กรัม
3.แนะนำการกระตุ้นพัฒนาการ เช่น การส่องไฟกระตุ้นประสาทสัมผัส และมารดาไม่ควรนอนเปิดไฟเพราะจะทำให้ส่งผลการนอนของเด็กได้