Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉีย…
บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
COMPARTMENT SYNDROME
การประเมินภาวะ Compartment Syndrome
pain ปวด
Polarเย็น
Pallor ซีด
Paresthesia ชา
Paralysis อัมพาต
pulselessnessชีพจร
การประเมินภาวะ Compartment Syndrome
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโดยการตัดแขนและตัดขา (Amputation)
ข้อบ่งชี้ในการทาผ่าตัด Amputation
1.การได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
2.การติดเชื้อ
3.เนื้องอกหรือมะเร็งกระดูก
4.ความพิการแต่กาเนิด
5.เส้นประสาทได้รับอันตรายทาให้เป็นอัมพาตแขนขา
6.Vascular disease ทาให้เกิดเนื้อตายของอวัยวะ
ชนิดของการตัดแขนขา
Closed amputation
Open amputation
ระดับของการตัดแขน
การตัดนิ้วมือ : Ray amputation
2.การตัดระดับข้อมือ : Wrist disarticulation
3.การตัดระดับข้อศอก : Elbow disarticulation
4.การตัดต่ากว่าข้อศอก : Below elbow amputation : B.E.
5.การตัดเหนือข้อศอก : Above elbow amputation : A.E.
6.การตัดระดับไหล่ : Shoulder disarticulation
ระดับของการตัดขา
1.การตัดระดับนิ้วเท้า :Toe disarticulation
การตัดระดับข้อเท้า :Syme’samputation
การตัดใต้เข่า : B-K Below knee amputation
4.การตัดระดับเข่า :Knee disarticulation
การตัดเหนือเข่า : A-KAboveknee amputation
การตัดผ่านขัอสะโพก :Hip disarticulation
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล amputation
เสี่ยงต่อภาวะตกเลือดจากการผ่าตัดแขนขา
มีอาการปวด บวมบริเวณแผลหลังผ่าตัด
3 มีการติดเชื้อแผลผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดอุปสรรคในการใส่อวัยวะเทียมจากการผิดรูปของตอขา (STUMP)
ผู้ป่วย A.K. amputation ให้นอนคว่าหมุนขาเข้าข้างในไม่วางหมอนระหว่างขา
ผู้ป่วย B.K. amputation หลีกเลี่ยงการอยู่ในท่างอตอขา ห้ามหนุนหมอน
อาจเกิดความวิตกกังวลกับสภาพความเจ็บป่วยและปรับตัว
6.ขาดความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ปัญหาทางการพยาบาล amputation
Phantom limb sensation
-ตะคริว (cramping)
-บีบรัด (crushing)
-ปวดแสบปวดร้อน (burning)
-ปวดคล้ายเข็มแทง (shooting pain)
คิดว่าอวัยวะที่ถูกตัดนั้นคงอยู่ 70-84% นาน 6เดือน 90%
อวัยวะที่ขาดหายไปหรือถูกตัดไปนั้นติดอยู่และเคลื่อนไหว
คิดว่ามันสั้นลงกว่าปกติ อยู่ในท่าทางที่ผิดรูปและเจ็บปวด
มีผู้ตั้งทฤษฎีไว้ 3กลุ่ม
1.Peripheral theory ทฤษฎีเหตุประสาทส่วนปลาย การไม่พึงพอใจกับสิ่งที่เกิดขึ้น
2.Central theory ทฤษฎีเชื่อมโยงระบบประสาท ส่วนกลางของสมองและไขสันหลัง การจดจาของระบบประสาทก่อนการถูกตัด
3.Psychogenic Theoryทฤษฎีทางจิต ความรู้สึกที่พยายามต่อสู้กับความจริงที่จะรักษาภาพลักษณ์ จึงปฏิเสธการสูญเสีย
การบริหารตอขา
การออกกาลังแขนและการกามือเพื่อเตรียมกล้ามเนื้อสาหรับใช้เครื่องช่วยเดิน
การออกกาลังกายสาหรับผู้ป่วยที่ถูกตัดขาระดับเหนือเข่า (AK)
การออกกาลังกายสาการออกกาลังกายสาหรับผู้ป่วยที่ถูกตัดขาระดับใต้เข่า (BK)
ภาวะแทรกซ้อนภายหลังการตัดแขนขา
Reactionary hemorrhage
Secondary haemorrhage
Infection
Blood clot
Tissue necrosis
Flexion deformity or Contracture
Neuroma
Phantom pain and Phantom limb sensation
การผ่าตัดกระดูกสันหลัง
การผ่าตัดเชื่อมกระดูกและใส่โลหะยึดตรึงกระดูกสันหลัง (Spinal Fusion with instrumentation)
การผ่าตัดหมอนรองกระดูกสันหลัง (Lumbar discectomy)
การผ่าตัดหมอนรองกระดูกคอทับเส้นประสาท โดยการผ่าตัดจากทางด้านหน้า และ เชื่อมข้อ
ข้อเคลื่อน
อาการข้อเคลื่อนที่พบได้บ่อย
บวม, ปวด, กดเจ็บบริเวณข้อ
ข้อมีรูปร่างผิดปกติไปจากเดิม สีของบริเวณข้อที่ได้รับบาดเจ็บเปลี่ยนไปจากเดิม
การเคลื่อนไหวข้อทาไม่ได้ หรือทาได้น้อยมาก ผู้ป่วยไม่สามารถเคลื่อนไหวข้อได้ตามปกติ
มีการหดสั้นของอวัยวะ เช่น แขน หรือขา
อาจคลาพบปลายหรือหัวกระดูกที่เคลื่อนออกมา
การที่ข้อเคลื่อน อาจมีอันตรายต่อเส้นประสาท และหลอดเลือดใกล้เคียง
การพยาบาลเมื่อมีข้อเคลื่อน
อย่าพยายามดึงเข้าที่เอง
สิ่งแรกที่ควรทาคือ ให้ข้อนั้นอยู่นิ่งๆ ในท่าที่เป็นอยู่ อาจจะใช้มืออีกข้างช่วยประคองในกรณีที่เป็นไหล่ หรือข้อศอก
ประคบด้วยน้าแข็ง เพื่อให้เลือดออกน้อยที่สุด
รีบมาพบแพทย์ให้จัดการรักษาโดยทันที
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อ (joint replacement)
-การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมแบบทั้งหมด (total hip replacement, THR หรือ total hip arthroplasty, THA) เป็นการผ่าตัดเปลี่ยนทั้งส่วนหัวของกระดูกต้นขา (femur) และเบ้าสะโพก (acetabulum)
-การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมเพียงบางส่วน (hemiarthroplasty of the hip)
ข้อบ่งชี้ Hip arthroplasty
โรคข้ออักเสบเรื้อรัง
ข้ออักเสบรูมาตอยด์
หัวกระดูกต้นขาตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยง
เกิดการเสื่อมของกระดูกอ่อนผิว ข้อที่อยู่ระหว่างกระดูกต้นขาและเบ้า
จากการใช้ งานมากในชีวิตประจาวัน
ผู้ป่วยข้อสะโพกหัก (Fracture)ผู้สูงอายุที่มีการหักเคลื่อนของคอกระดูกสะโพก
อาการข้อสะโพกมีปัญหา
ปวดข้อสะโพกเมื่อมีการเคลื่อนไหว อาจเดินไม่ได้หรือเดินกะเผลก
กดเจ็บบริเวณข้อสะโพก
มีการลีบของกล้ามเนื้อรอบๆสะโพก และกล้ามเนื้อรอบๆโคนขา
บางรายขาจะสั้นจากการหดรั้งของกล้ามเนื้อ
ปวดมากแม้อยู่ในขณะพัก
ข้อห้ามปฏิบัติ
ห้ามทากิจกรรมใดๆที่ต้องงอสะโพกมากกว่า 90องศา ดังนี้
-ห้ามนั่งไขว่ห้าง โดยใช้ขาข้างที่ทาผ่าตัดไขว่ขาข้างดี
-ห้ามนั่งเก้าอี้ที่มีระดับต่ากว่าสะโพก เช่น ม้านั่งเตี้ย ๆโซฟา
-ห้ามก้มลงหยิบของบนพื้น ให้ใช้ตะขอหรืออุปกรณ์อื่นๆ ช่วยหยิบ
-ห้ามไขว้ขา หรือบิดขาเข้าด้านใน
-ห้ามขี่จักรยานอานเตี้ย
-ห้ามก้มใส่รองเท้าหรือตัดเล็บเองในระยะแรก
-ห้ามนั่งยอง ๆ
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม(knee arthroplasty)
-การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมแบบทั้งหมด (total Knee replacement, TKR หรือ total knee arthroplasty, TKA) เป็นการผ่าตัดเปลี่ยนผิวที่คลุมกระดูกข้อเข่าทั้งหมด ทั้งกระดูก femur และ tibia อาจรวมถึงกระดูกสะบ้า (patella) ด้วย
การพยาบาลหลังการผ่าตัดknee arthroplasty
เมื่อกลับมาจากห้องผ่าตัดในระยะแรก
ในช่วง 48 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัดอาการบวมจะเกิดขึ้นได้ง่าย สังเกตอาการผิดปกติของระบบไหลเวียนและการทาลาย ของ peroneal nerve
บวม Swelling : cold compression ต่อเนื่อง 2-3 wks
elevateขาบนหมอนโดยยกเท้าให้สูงกว่าหัวใจ
Bruising (รอยฟกช้า) พบได้บริเวณต้นขา น่อง ข้อเท้า จะ absorb ได้เอง
วันที่ 3 หลังผ่าตัด1. อธิบายการทางานและวิธีเปิด-ปิด เครื่อง
2. จัดวางขาผู้ป่วยบนเครื่องให้ขาตั้งตรงไม่บิดออกหรือหมุนไปด้านข้าง
ข้ออักเสบจากการติดเชื้อ (septic arthritis)
พยาธิสภาพ เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายทาง
1.กระแสเลือด
2.มีการอักเสบติดเชื้อของกระดูกมาก่อน
3.เข้าสู่ข้อโดยตรง
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
-Staphylococcus พบทุกช่วงอายุ
การวินิจฉัย
-อาการทางคลินิก
-การตรวจCBC พบ WBC เพิ่มขึ้น,ESR สูง
-การตรวจ น้าเจาะข้อ พบWBC > 50,000 cell/mm3
neutrophil > 75%
-การย้อมgram stain , culture น้าเจาะข้อ
-X-ray , bone scan
ภาวะแทรกซ้อนของข้ออักเสบจากการติดเชื้อ (septic arthritis)
1.ทาลายกระดูกอ่อนผิวข้อ ข้อติดแข็ง
2.ข้อหลุด ( ข้อสะโพก)
ทาลาย epiphysis ทาให้ แขนขายาวไม่เท่ากัน
4.ทาให้เกิด Osteomyelitis ในกระดูกใกล้เคียง
โรคข้อเสื่อม (osteoarthritis-OA)
ผิวของกระดูกอ่อนจะแข็ง ไม่เรียบ เมื่อข้อเข่าเคลื่อนไหวจะเกิดเสียงดังในข้อ เกิดอาการเจ็บปวด หากข้อเข่ามีการอักเสบก็จะมีการสร้างน้าข้อเข่าเพิ่มทาให้เกิดการบวมตึง และปวดข้อเข่า เมื่อมีการเสื่อมมากขึ้น ข้อเข่าก็จะมีการโก่งงอ
อายุ
2. พันธุกรรมและโรคเมตาโบลิซึม
3. การเปลี่ยนแปลงในเมตาโบลิซึมของการทางานของเซลล์กระดูกอ่อน
4. โรคที่มีข้ออักเสบ (Inflamatoryjoint disease)
5. การได้รับบาดเจ็บของข้อ (truama)
6. ความอ้วน (obesity)
อาการ
ปวด
ข้อฝืดตึง (stiffness)
ข้อใหญ่ผิดรูป (bony enlargement)
มีเสียงดังกรอบแกรบ (crepitus)
ทุพพลภาพในการเคลื่อนไหวและการทางาน
ข้อเข่าเคลื่อนไหวได้จากัด (restricted movement)
การรักษาโดยไม่ใช้ยา (Non pharmocologictherapy)
กายบริหารร่างกาย(Therapeutic exercise)
การรักษาด้วยยา -ยาแก้ปวด
3. การผ่าตัด (Surgical treatment)
-การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม
กระดูกอักเสบจากการติดเชื้อ(osteomyelitis)
1 กระดูกอักเสบติดเชื้อเฉียบพลัน (Acute Osteomyelitis)
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
-staphylococcus aureus 90%
อาการและอาการแสดง
-ไข้ ปวด บวม แดง ร้อน
-เคลื่อนไหวน้อยลง ( pseudo paralysis)
-กดเจ็บที่ metaphysis
การรักษา
การรักษาโดยทั่วไป2.การใส่ splint หรือ traction
การให้ยาปฏิชีวนะ 4.การผ่าตัด
2 กระดูกอักเสบติดเชื้อเรื้อรัง (Chronic Osteomyelitis)กระดูกอักเสบจากการติดเชื้อ(osteomyelitis
สาเหตุ
ภาวะต่อเนื่องจาการอักเสบเฉียบพลัน
เกิดตามหลังการติดเชื้อจากอุบัติเหตุ(open fracture)
พยาธิสภาพ
Sequestrum , Involucrum , Cloaca
อาการทางคลินิก
-มี sinus tract ที่มีหนองไหลเป็นๆหายๆ
-อาจมีอาการปวด,ไข้
-อาจมาด้วย Pathological fracture
การรักษา
การใช้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด การทาผ่าตัดเอากระดูกที่เน่าตายออก (sequestrectomy)
แต่ควรทาเมื่อเหมาะสม