Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Melioidosis, อ้างอิงจาก - Coggle Diagram
Melioidosis
การรักษา
ประคับประครองตามอาการ
ภาวะแทรกซ้อนต้องใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสม
Ceftazidime 2 g V q 8 hr(100-120 มก. / กก./ วันหรือ 6 กรัม)
Amoxicillin-clavulanic acid (co-amoxiclav) ควรพิจารณาใช้เป็นยาทางเลือกในการรักษาผู้ป่วย
Cefoperazone-subactam ขนาดยาที่ใช้ในการรักษาคือ cefoperazone 25 มก. / กก. / วันหรือ 3 กรัม / วัน
Imipenem ขนาดยาที่ใช้ในการรักษาคือ 50 มก. / กก. / วันหรือ 3 กรัม / วัน
Meropenem ขนาดยาที่ใช้ในการรักษาคือ 75 มก. / กก. / วันหรือ 3 กรัม / วัน
เจาะดูดหรือ ผ่าตัดเพื่ออระบายฝีหนอง
หากsepsis ควรให้ยาปฏิชีวนะแบบฉีดเข้าทางหลอดเลือดดํา
ให้ยา 2-3 วันหรืออย่างน้อย 10-14
เปลี่ยนเป็นยารับประทานอย่างน้อย 20 สัปดาห์
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
มีประวัติการสัมผัสสัตวเลี้ยง การสัมผัสเเหล่งน้ำเเละดินมาหรือไม่
มีอาการมีไข้ ไอ มีเสมหะ เจ็บคอ หายใจเหนื่อยหรือไม่
การตรวจร่างกาย
การติดเชื้อของปอด
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ฝีที่อาจเกิดจากภาวะแทรกซ้อน
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อ จากเลือดหรือ สิ่งส่งตรวจต่างๆทางคลินิกถือเป็น gold standard
วิธีนี้มีความไวและความน่าเชื่อถือในการวินิจฉัยโรคนี้มาก
ผลตรวจ
Hemoculture (Blood) พบ Gram negative bacilli.
การตรวจหาแอนติบอดีต่อการติดเชื้อ การวินิจจฉัยโรคโดยการตรวจหาแอนติบอดีต่อการติดเชื้อ ฺB. pseudomallei
การตรวจหาแอนติเจนของเชื้อ จากสิ่งส่งตรวจทางคลินิกโดยตรง
ELISA
latex agglutination
indirect immunofluorescence
อาการเเละอาการเเสดง
มีไข้ ไอ มีเสมหะ
หายใจหอบเหนื่อย
พบฝีตามผิวหนังเเละอวัยวะในร่างกาย
ภาวะเเทรกซ้อน
ติดเชือในระบบทางเดินปัสสาวะ
เกิดฝีที่อวัยวะภายใน
ติดเชื้อผิวหนัง
สาเหตุ
Burkholderia pseudomalleiแบคทีเรียชนิดเเกรมลบพบได้ทั่วไปในดินและน้ำ เเพร่กระจายมากในช่วงหน้าฝน
แบคทีเรียชนิดนี้ติดต่อจากสัตว์สู่คนทางการสัมผัส
แมว สุนัข หมู ไก่ วyว ควาย แกะ แพะ
การสัมผัสกับเชื้อ บริเวณผิวหนังที่มีแผลเปิดเสี่ยงต่อการได้รับเชื้อสูง
การป้องกัน
ผู้ที่ทำการเกษตรควรสวมรองเท้าบูทเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากการที่เท้าและขาสัมผัสกับดิน
ผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทางร่างกายบกพร่อง
โรคเอดส์ มะเร็ง หรือต้องรับการรักษาด้วยการทำเคมีบำบัด
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคไตเรื้อรัง หรือผู้ที่มีแผลเปิดบนผิวหนังควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับดินและน้ำที่อาจมีเชื้อแบคทีเรียเจือปน
ผู้ที่ทำงานใกล้ชิดผู้ป่วย เช่น แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ในห้องปฏิบัติการ ควรสวมอุปกรณ์ป้องกันอย่างเหมาะสม
หน้ากากอนามัย ถุงมือ และเสื้อคลุม
พยาธิสภาพ
ส่วนใหญ่เกิดจากการที่ร่างกายได้รับเชื้อเข้ามาใหม่
ระยะฟักตัวของโรค
เฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 9 วัน(1 – 21 วัน )
จะเป็นโรคหรือ ไม่ขึ้นอยู่กับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายและจํานวนเชื้อที่ได้รับ
neutrophilsจะการควบคุมเชื้อในระยะแรก
ส่วนน้อยเป็นผลจากการกําเริบ ของการติดเชื้อที่มีอยู่เดิม
ความหมาย
โรคติดเชื้อจากแบคทีเรีย Burkholderia
pseudomallei ที่ปนเปื้อนในน้ำและดิน
อ้างอิงจาก
โดมินิก ดูปาญ. 2559. โรคเมลิออยด์ . สืบค้นเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564. จาก
https://www.pobpad.com/melioidosis
ประวัฒน์ จันทฤทธิ์. 2560. โรคเมลิออยโดสิส โรคติดเชื้อที่ควรเฝ้าระวัง. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564. จาก
https://www.rama.mahidol.ac.th/ramachannel/article
พัชรสาร ลีนะสมิต. 2564. Melioidosis. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564. จาก
http://www.med.swu.ac.th/Internalmed/images/documents/handout/ID/PL/melioidosis_handout.pdf