Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉีย…
บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
ANATOMY OF BONE
:star:
โครงสร้างของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูก (Skeleton)
ข้อ(Joint)
กล้ามเนื้อ(Muscle)
กล้ามเนื้อเรียบ
กล้ามเนื้อลาย
เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน(Connective tissue) เช่น กระดูกอ่อน(cartilage),เอ็น(Tendons) และเอ็นยึด(Ligaments)
หน้าที่ของกระดูก
ช่วยรองรับอวัยวะต่างๆให้ทรงและตั้งอยู่ในตำแหน่งที่ควรอยู่
เป็นส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนไหว
เป็นโครงร่างส่วนแข็ง
เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อต่างๆและเอ็น
ช่วยป้องกันอวัยวะที่สำคัญภายในร่างกายไม่ให้เป็นอันตราย
ผลิตเม็ดเลือดแดง
เป็นที่เก็บธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสในร่างกาย
การประเมินสภาพของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
:star:
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย :<3:
โรคประจำตัว เช่น DM HT
การผ่าตัด
การแพ้ยา
ประวัติครอบครัว
ประวัติในอดีต
โรคทางพันธุกรรม
ประวัติโรคติดต่อในครอบครัว
อาชีพ
สภาวะทางด้านจิตใจ
การตรวจร่างกาย
การดู
การคลำ
การเคาะ
การฟัง
การวัด
การขยับ
การตรวจพิเศษอื่นๆ
การรักษา :<3:
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การฟื้นฟูสภาพ
โรคกระดูกที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ(Noninfectious)
Bone tumor
เนื้องอกกระดูกปฐมภูมิ (primary
bone tumor)
อาการปวด (pain) คลําได้ก้อน (mass)
กระดูกหักแบบมีพยาธิสภาพ (pathologic fracture)
กระดูกผิดรูป (deformity) ตรวจพบโดยบังเอิญ (accidental finding)
มีก้อนเกิดขึ้น
เนื้องอกกระดูกทุติยภูมิ (secondary
bone tumor)
เรื่องก้อนจะไม่ค่อยชัดเจน
อาการของทางระบบประสาท เช่น อาการชา อาการอ่อนแรง จนกระทั่งเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นต้น
บางครั้งอาจมาด้วยการตรวจพบโดยบังเอิญ
การตรวจวินิจฉัย
X-RAY กระดูก ดูตำแหน่งปวด
MR
Chest X-ray
Biopsy
การทำ Bone Scan
CT Scan ปอด
การรักษา
การผ่าตัด Osteotomy
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
Gouty Arthritis
สาเหตุ
Primary Gout
ชนิดนี้ส่วนใหญ่เกิดกับผู้ชายวัยสูงอายุ สาเหตุที่แท้จริงไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจากไตไม่สามารถก าจัดกรดยูริคออกได้ตามปกติ มีกรดยูริคคั่งในเลือด (hyperuricemia)หรืออาจจากการที่ร่างกายผลิตกรดยูริคมากเกินไป โรคเก๊าฑ์ชนิดนี้พบมากที่สุด
ประมาณร้อยละ 90 ของผู้ป่วยโรคเก๊าท์ทั้งหมด
Secondary Gout
เกิดในผู้ป่วยที่เป็นโรคที่มีผลิตสารพิวรีน (purine) เพิ่มขึ้นท าให้มี การสังเคราะห์กรดยูริคมากขึ้น
การรักษา
ระยะอักเสบ
1.1 Colchicine
1.2 Indometacin
1.3 Corticosteroid
2.ช่วงไม่มีการอักเสบ
2.1 ยาขับกรดยูริค Probenecid, Sulfinpyazone
2.2 Allopurinol
พยาธิสรีรวิทยา
มื่อมีการเปลี่ยนแปลงระดับของกรดยูริคเกิดขึ้นในร่างกาย ท าให้ผลึกของกรดยูริคเกาะตามข้อ รวมถึงเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เป็นเหตุให้ข้อเกิดการอักเสบขึ้นชั่วคราว โดยในผู้ป่วย acute gouty arthritis จะมีผลึก micro crystals ของโซเดียมยูเรตเกาะใน synovial membranes ของข้อ ส่วนกรณี chronic tophaceous gout จะพบ tophi ที่กระดูกอ่อนของหูและ
รอบๆ
อาการและอาการแสดง
Asymptomatic hyperuricemia
Acute gouty arthritis
3.Interval phase gout
4.Chronic gout
การวินิจฉัย
X-Ray
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่นตรวจหาผลึกยูเรต จากน้ำไขข้อ
Amputation
คําแนะนําในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
ป้องกันการติดเชื้อ ดูแลรูปร่างของตอขา ให้ได้รูปทรวงกระบอก หลีกเลี่ยงท่าที่ไม่
ถูกต้อง ดูแลตอแขน ขา เมื่อใส่ขาเทียม
ผลกระทบต่อบุคคล
ระยะช๊อคไม่เชื่อ(Shock and disbelief)
ระยะที่เริ่มรับรู้กับสิ่งที่เสียไป(Developing awareness of the loss) ระยะชดเชยยอมรับสิ่งทีี่สูญเสียไป(Restitution)
แบ่งตามตําแหน่งการทำผ่าตัด
ระยางค์ส่วนล่าง(lower extremities)
Syme’s amputation ตัดเหนือข้อเท้าแต่ยังเหลือส้นเท้าอยู่
การตัดใต้ข้อเข่า (below knee amputation) การตัดผ่านข้อเข่า (Knee disarticulation) การตัดเหนือเข่า (Above Knee disarticulation)
การตัดผ่านข้อสะโพก (Hip disarticulation)
ระยางค์ส่วนบน(upper extremities)
การตัดใต้ข้อศอกอ (B.E. amputation)
การตัดเหนือข้อศอก (above elbow amputation)
การตัดผ่านข ้อของกระดูก (disarticulation amputation) มีน้อย
ข้อบ่งชี้
อุบัติเหตุ โรคทางหลอดเลือด มีการติดเชื้อที่กระดูกหรือเนื้อเยื่อรอบๆ เนื้องอกอาจเป็นเนื้องอกธรรมดา หรือร้ายแรง ความพิการแต่กำเนิด
Osteoporosis
แนวทางรักษา
Calcium + Vitamin D supplement
Hormonal replacement
Calcitonin
Bisphosphonate
ออกก าลังกาย
6หลีกเลี่ยงชา กาแฟ
Brace , Orthosis
Surgery – Pathological fracture
9.การออกก าลังกายที่เหมาะสม
ลักษณะทางคลินิก
ปวดหลัง ,ปวดกระดูกเรื้อรัง
หลังโก่ง
ตัวเตี้ยลง
Pathologic fracture เช่น fracture neck
femur, Fx. distal radius
กระดูกโปร่งขึ้น พบ Pathologic fracture
Rheumatoid arthritis
ลักษณะทางคลินิก
ข้อฝืดในตอนเช้า
ข้ออักเสบหลายข้อและสมมาตร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
ESR
Rheumatoid factor
Synovial fluid
X-ray : osteoporosis
การรักษา
การพักข้อ
การออกกำลังกาย
NSAID
DMARD (disease modifying antirheumatic drug)
STEROID
การผ่าตัด
Synovectomy เป็นการผ่าตัดเลาะเยื่อบุข้อที่หนา
ออก
Repair soft tissue เป็นการผ่าตัดซ่อมแซมเอ็น
กล้ามเนื้อ (tendon) ที่ถูกทำลาย
Osteotomy เป็นการผ่าตัดเพื่อเปลี่ยนตำแหน่งการ
ลงน้eหนักของข้อนั้นๆ
Arthroplasty เป็นการผ่าตัด จัดหรือเปลี่ยนข้อ
ใหม่ (Joint replacement)
Arthrodesis การผ่าตัดเชื่อมข้อให้ติดกัน
การพยาบาล
แนะนำใหผูปวยพักข้อ
ประคบดวยความรอนและความเย็น
ดูแลนวดเบาๆ เพื่อใหกลามเนื้อคลายตัว ในการนวดไมควรนวดที่ขอโดยตรง
ดูแลให้ยาแกปวด และตานการอักเสบตามแผนการรักษาของแพทย และสังเกตอาการขางเคียงของยา
ขอที่เจ็บควรใสเครื่องพยุง (splint) ไว เพื่อให้ขอนั้นได้พัก ลดอาการปวด
ดูแลใหผูปวยออกก าลังกายเพื่อใหขอตอตางๆเคลื่อนไหว
ใหผูปวยออกก าลังแบบ isometric exercise เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อดูแลให้ผู้ปวยเคลื่อนไหวข้อตางๆ1-2 ครั้งทุกวัน เพื่อปองกันไม่ให้ขอติดและควรดูแลให้เคลื่อนไหวหลังประคบความร้อน
หลีกเลี่ยงการจับขอที่อักเสบอยางแรงๆ
การบาดเจ็บของกระดูกและข้อ
การบาดเจ็บของกระดูกและข้อที่พบบ่อย ได้แก่
กระดูกหัก (Fracture)
การได้รับแรงกระแทกโดยทางตรงหรือทางอ้อมแล้วส่งผลให้กระดูกแตกหรือแยกออกจากกัน
อุบัติเหตุจากการจราจร
การหกล้มหรือตกจากที่สูง
การเล่นกีฬาที่ใช้กำลังมาก
โรคกระดูก
อาชีพ
การหักที่เกิดจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ
ประเภทของกระดูกหัก (Fracture)
Avulsion Fracture
Colles’ Fracture
Comminuted Fracture
Compression Fracture
Direct Fracture
Dislocation Fracture
Double Fracture
Epiphyseal Fracture
Fatigue Fracture
Greenstick Fracture
Oblique Fracture
Indirect Fracture
Pathological Fracture
14.silver-fork fracture
Spiral Fracture
Transverse Fracture
การรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
Recognition การวินิจฉัย
Reduction การจัดกระดูกให้เข้าที่
Retention การดามกระดูกให้อยู่กับที่
Rehabilitation การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
โรคกระดูกที่เกิดจากการติดเชื้อ
(infectious orthopedics diseases)
Septic arthritis
พยาธิสภาพ
1.กระแสเลือด
2.มีการอักเสบติดเชื้อของกระดูกมาก่อน
3.เข้าสู่ข้อโดยตรง
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
Staphylococcus พบทุกช่วงอาย
ลักษณะทางคลินิก
มีอาการอักเสบของข้อชัดเจน เช่น ปวด บวม แดง ร้อน
มักเป็นข้อที่อยู่ตื้นๆเช่น ข้อเข่า ข้อมือ ข้อเท้า
อาการอาจไม่ชัดเจนในผู้ที่เป็น RA, on steroid
ปวดบริเวณข้อปวดมากแม้ขยับเพียงเล็กน้อย
มีของเหลวในช่องข้อเพิ่มมากขึ้น
การวินิจฉัย
อาการทางคลินิก
การตรวจ CBC พบ WBC เพิ่มขึ้น , ESR สูง
การตรวจ น้ าเจาะข้อ พบ WBC > 50,000 cell/mm3 neutrophil > 75%
การย้อม gram stain , culture น้ าเจาะข้อ
X-ray , bone scan
การรักษาข้ออักเสบจากการติดเชื้อ (septic arthritis)
Supportive treatment พักข้อ ให้ยาบรรเทาปวด
Splint , traction
Antibiotic
Drainage
ภาวะแทรกซ้อนของข้ออักเสบจากการติดเชื้อ (septic arthritis)
ทำลายกระดูกอ่อนผิวข้อ ข้อติดแข็ง
ข้อหลุด ( ข้อสะโพก)
ทำลาย epiphysis ท าให้ แขนขายาวไม่เท่ากัน
ทำให้เกิด Osteomyelitis ในกระดูกใกล้เคียง
Osteoarthritis
อายุ
พันธุกรรมและโรคเมตาโบลิซึม
การเปลี่ยนแปลงในเมตาโบลิซึมของการทำงานของเซลล์กระดูกอ่อน
โรคที่มีข้ออักเสบ (Inflamatory joint disease)
การได้รับบาดเจ็บของข้อ (truama)
ความอ้วน (obesity)
อาการ
ปวด
ข้อฝืดตึง (stiffness)
ข้อใหญ่ผิดรูป (bony enlargement)
มีเสียงดังกรอบแกรบ (crepitus)
ทุพพลภาพในการเคลื่อนไหวและการทำงาน
(reduced function)
ข้อเข่าเคลื่อนไหวได้จำกัด (restricted movement)
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม
การรักษาโดยไม่ใช้ยา (Non pharmocologic therapy)
กายบริหารร่างกาย(Therapeutic exercise)
การปรับพฤติกรรม
การรักษาด้วยยา - ยาแก้ปวด
การผ่าตัด (Surgical treatment)
การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม
Osteomyelitis
แบ่งเป็น 2 แบบ
2 กระดูกอักเสบติดเชื้อเรื้อรัง (Chronic Osteomyelitis)
สาเหตุ
มีการติดเชื้อจากภายนอกร่างกาย มักพบในกรณี open fracture
ติดเชื้อจากตำแหน่งอื่น ลุกลามเข้าสู่กระแสเลือด
มีความผิดปกติของหลอดเลือดจากโรคต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน
มีสาเหตุมาจากacute osteomyelitis ที่ไม่ได้ทำการรักษาอย่างต่อเนื่อง
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะทั่วไป ผ่าตัดเอากระดูกที่เน่าตายออก(sequestrectomy) การทําแผล จัดกระดูกที่อักเสบให้อยู่นิ่งๆ ปลูกกระดูก(bone graft) การให้ยาปฏิชีวนะเฉพาะที่
อาการและอาการแสดง
มีไข้ ผิวหนังแดง ตึง มีปวดบริเวณที่มีการอักเสบติดเชื้อ รูหนอง(sinus tract)
ภาวะแทรกซ้อน
ข้อติดแข็ง กล้ามเนื้อลีบ แผลเป็น กระดูกสั้นกว่าปกตอ แผลกลายเป็นมะเร็ง
1 กระดูกอักเสบติดเชื้อเฉียบพลัน (Acute Osteomyelitis)
อาการและอาการแสดง
อาการทั่วไป มีไข้ อาการเฉพาะที่ ปวด บวม แดงร้อน บรอเวณกระดูกที่ติดเชื้อ
การรักษาทั่วไป
ให้ส่วนที่มีพยาธิสภาพได้พัก ให้ยาปฏิชีวนะ ให้ยาบรรเทาอาการปวด ลดไข้ ให้ได้รับอาหารที่มีประโยชน์
การรักษาเฉพาะที
ประคบด้วยความเย็น เพื่อบรรเทาอาการปวด ทําผ่าตัดเอาหนองออก (incision and drain)