Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉียบพลันแล…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
การประเมินสภาพของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
อาการร่วมอื่นๆ เช่น อ่อนแรง ชา มีก้อน ไข้ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
โรคประจำตัว เช่น DM HT
ลักษณะรูปร่างผิดไปจากเดิม
สภาวะทางด้านจิตใจ
การสูญเสียความสามารถการทำงาน การเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการปวด
การตรวจพิเศษอื่นๆ
Arthrography
Arthroscopy
Arthrocentesis
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Uric acid เพิ่มขึ้น Gout
Serum Protein electrophoresis
Serum phosphorus
Alkaline phosphatase
Serum calcium
การรักษา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การฟื้นฟูสภาพ
การรักษาด้วยยา
Rheumatoid arthritis
การรักษา
การออกกำลังกาย
NSAID
การพักข้อ
DMARD (disease modifying anti-
rheumatic drug)
การผ่าตัด
Repair soft tissue เป็นการผ่าตัดซ่อมแซมเอ็น
กล้ามเนื้อ (tendon) ที่ถูกท าลาย
Osteotomy เป็นการผ่าตัดเพื่อเปลี่ยนตำแหน่งการ
ลงน้ำหนักของข้อนั้นๆ
Synovectomy เป็นการผ่าตัดเลาะเยื่อบุข้อที่หนา
ออก
Arthroplasty เป็นการผ่าตัด จัดหรือเปลี่ยนข้อ
ใหม่ (Joint replacement)
Arthrodesis การผ่าตัดเชื่อมข้อให้ติดกัน
การพยาบาล
ดูแลนวดเบาๆ เพื่อใหกล้ามเนื้อคลายตัว ในการนวดไม่ควรนวดที่ขอโดยตรง
ดูแลให้ยาแก้ปวด และตานการอักเสบตามแผนการรักษาของแพทย และสังเกตอาการขางเคียงของยา
ประคบด้วยความรอนและความเย็น
ขอที่เจ็บควรใสเครื่องพยุง (splint) ไว้เพื่อให้ขอนั้นได้พัก ลดอาการปวด
1.แนะนำใหผูปวยพักข้อ
ดูแลใหผู้ปวยออกก าลังกายเพื่อให้ข้อต่อต่างๆเคลื่อนไหว
ให้ผู้ป่วยออกำาลังแบบ isometric exercise เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อดูแลให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวข้อต่างๆ1-2 ครั้งทุกวัน
หลีกเลี่ยงการจับขอที่อักเสบอยางแรงๆ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวรางกายไมเปนปกติเนื่องจากความเจ็บปวดและความพิการ
ช่วยเหลือตัวเองไดนอยเนื่องจากความเจ็บปวด/ความพิการ/ความออนเพลีย
มีภาวะความเจ็บปวดและขอแข็งเนื่องจากมีการอักเสบของขอและกลามเนื้อ
ขาดความรูความสนใจเกี่ยวกับโรค
Gouty arthritis
พยาธิสรีรวิทยา
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระดับของกรดยูริคเกิดขึ้นในร่างกาย ทำให้ผลึกของ
กรดยูริคเกาะตามข้อ รวมถึงเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
สาเหตุ
Primary Gout
อาจเกิดจากไตไม่สามารถก าจัดกรดยูริคออกได้ตามปกติ มีกรดยูริคคั่งในเลือด (hyperuricemia)หรืออาจจากการที่ร่างกายผลิตกรดยูริคมากเกินไป
Secondary Gout
เกิดในผู้ป่วยที่เป็นโรคที่มีผลิตสารพิวรีน (purine) เพิ่มขึ้นทำให้มี การสังเคราะห์กรดยูริคมากขึ้น
เก๊าท์(Gout) เป็นโรคที่มีการอักเสบของข้อชนิดเป็นๆหายๆ จากการที่มีกรดยูริคในเลือดมากกว่าปกติโดยส่วนใหญ่พบในชายวัยกลางคนและหญิงวัยหมดประจำเดือน
อาการและอาการแสดง
Acute gouty arthritis
Interval phase gout
Asymptomatic hyperuricemia
Chronic gout
การวินิจฉัย
X-Ray
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
ระยะอักเสบ
Colchicine
Indometacin
Corticosteroid
ช่วงไม่มีการอักเสบ
ยาขับกรดยูริค Probenecid, Sulfinpyazone
Allopurinol
กระดูกพรุน (osteoporosis)
พยาธิสภาพ
การทำลายกระดูกโดย Osteoclast มากขึ้น
มีการเปลี่ยนแปลงในกระดูกโปร่งก่อน
เกิด Microfracture ,Pathologic fracture
การสร้างเนื้อพื้น osteoid น้อยลง
ลักษณะทางคลินิก
ปวดหลัง ,ปวดกระดูกเรื้อรัง หลังโก่ง ตัวเตี้ยลง X-Ray
การรักษา
Hormonal replacement
Calcitonin
Calcium + Vitamin D supplement
ออกกำลังกาย หลีกเลี่ยงชา กาแฟ
Bisphosphonate
Bone tumor
มะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ (primary malignant bone tumor)
โดยมากจะหมายถึงพวก sarcoma สาเหตุ จากความผิดปกติของยีน การได้รับรังสี การอักเสบติดเชื้อเรื้อรังความบกพร่องของระบบเผาผลาญและฮอร์โมน แสงแดด และการสูบยาเส้น เป็นต้น
มีก้อนเกิดขึ้น
มะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ (secondary malignant bone tumor or
metastatic bone tumor)
คือ มะเร็งที่แพร่กระจายจากอวัยวะอื่นมายังกระดูก
หรือ carcinoma ซึ่งไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้
อาการชา อาการอ่อนแรง จนกระทั่งเป็น
อัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นต้น
การตรวจวินิจฉัย
MRI ซึ่งการตรวจ MRI นั้นมีข้อดีก็คือ สามารถบอกขนาดของมะเร็งที่แท้จริงได้
Biopsy
X-RAY กระดูก ดูตำแหน่งปวด
Chest X-ray
CT Scan ปอด
การทำ Bone Scan เพื่อดูการกระจายของมะเร็ง
การรักษา
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
การผ่าตัด Osteotomy
การพยาบาล
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งกระดูกตองคำนึงในเรื่องการส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง ให้กำลังใจเสริมสร้างภาพลักษณให้ผู้ป่วย ยอมรับความเศร้าโศกของผู้ป่วยและญาติ
สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้ป่วยและญาติ
พยาบาลจะเปนผูที่ชวยใหผูปวยรูสึกมีคุณคาในตนเอง มีความหวังกำลังใจในการมีชีวิตอยูในช่วงสุดทายของชีวิต
ให้เวลาในการรับฟังปัญหาและความรู้สึกของผู้ป่วยและญาติ
ใหค าแนะน าเกี่ยวกับการดูแลตนเอง
การบาดเจ็บของกระดูกและข้อ
กระดูกหัก (Fracture)
กระดูกหรือส่วนประกอบของกระดูก เกิดการแตก แยก หรือขาดการ
เชื่อมต่อเป็นบางส่วน (incomplete fracture) หรือทั้งหมด(complete fracture) โดยสามารถเกิดได้กับกระดูกทุกชิ้นในร่างกาย
และเกิดได้ทุกช่วงวัย
สาเหตุของกระดูกหัก
อุบัติเหตุจากการจราจร
การหกล้มหรือตกจากที่สูง
การได้รับแรงกระแทกโดยทางตรงหรือทางอ้อม
แล้วส่งผลให้กระดูกแตกหรือแยกออกจากกัน
การเล่นกีฬาที่ใช้ก าลังมาก
ประเภทของกระดูกหัก (Fracture)
Avulsion Fracture
Colles’ Fracture
Compression Fracture
Comminuted Fracture
Direct Fracture
Dislocation Fracture
การรักษากระดูกหัก
การรักษาแบบประคับประคอง
(Conservative methods)
การรักษาโดยการผ่าตัด
(Operational methods)
การรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
การจัดกระดูกให้เข้าที่ (reduction)
.การดามกระดูกให้อยู่กับที่ (retention)
Recognition การวินิจฉัย
การฟื้นฟูสมรรถภาพ Rehabilitation