Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉีย…
บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
หน้าที่ของกระดูก
ช่วยรองรับอวัยวะต่างๆให้ทรงและตั้งอยู่ในต าแหน่งที่ควรอยู่
เป็นส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนไหว
เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อต่างๆและเอ็น
ช่วยป้องกันอวัยวะที่ส าคัญภายในร่างกายไม่ให้เป็นอันตราย
ผลิตเม็ดเลือดแดง
เป็นที่เก็บธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสในร่างกาย
การประเมินสภาพของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
อาการปวด
ลักษณะการปวด
ระยะเวลาที่มีอาการปวด
ปวดบริเวณใด
สิ่งที่กระตุ้น หรือ บรรเทา อาการปวด
การสูญเสียความสามารถการท างาน การเคลื่อนไหวผิดปกติ
ลักษณะรูปร่างผิดไปจากเดิม
อาการร่วมอื่นๆ เช่น อ่อนแรงชา มีก้อน ไข้ เบื่ออาหาร น้ าหนักลดฯลฯ
โรคประจำตัว เช่น DM HT
ประวัติในอดีต
ประวัติครอบครัว
อาชีพ
การตรวจร่างกาย
การคลำ
การเคาะ
การดู
การฟัง
การวัด
การขยับ
การตรวจพิเศษอื่นๆ
การตรวจพิเศษอื่นๆ
Arthroscopy การตรวจสภาพภายในข้อ
Arthrography ฉีดสารทึบแสงเข้าไปในข้อ
แล้วถ่ายภาพรังสี
Arthrocentesis การเจาะเข้าไปในข้อโดยใช้เข็ม
Bone scan
Myelography
X-RAY
MRI
Electromyography : EMGการตรวจ
คลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ
การรักษา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การฟื้นฟูสภาพ
การรักษาด้วยยา
โรคกระดูกที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ
Rheumatoid arthritis
เกิดจากความผิดปกติของภาวะภูมิคุ้มกันกันของร่างกาย ,มีภาวะการอักเสบเกิดกับอวัยวะต่างๆ
อาการเด่น
ข้ออักเสบ มักเป็นกับข้อเล็กๆ เช่น มือและเท้า
เป็นโรคเรื้อรัง
มักพบในคนอายุ 30-50 ปี
ลักษณะทางคลินิก
ข้อฝืดในตอนเช้า
ข้ออักเสบหลายข้อและสมมาตร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC,ESR,Rheumatoid factor ,Synovial fluid,X-ray : osteoporosis
การรักษา
การออกกeลังกาย
การพักข้อ
NSAID
MARD (disease modifying anti rheumatic drug)
STEROID
การผ่าตัด
Repair soft tissue เป็นการผ่าตัดซ่อมแซมเอ็น กล้ามเนื้อ
Osteotomy เป็นการผ่าตัดเพื่อเปลี่ยนตำแหน่งการ ลงน้ำหนักของข้อนั้นๆ
Synovectomy เป็นการผ่าตัดเลาะเยื่อบุข้อที่หนา ออก
Arthroplasty เป็นการผ่าตัด จัดหรือเปลี่ยนข้อ ใหม่
Arthrodesis การผ่าตัดเชื่อมข้อให้ติดกัน
Osteoporosis
เป็นโรคเกิดจากมวลกระดูกมีความหนาแน่นดลงทำให้กระดูกเกิดการเปราะบางและแตกักได้ง่าย
ลักษณะทางคลินิก
ปวดหลัง ,ปวดกระดูกเรื้อรัง
หลังโก่ง
ตัวเตี้ยลง
Pathologic fracture
การรักษา
Calcium + Vitamin D supplement
Hormonal replacement
Calcitonin
Bisphosphonate
ออกก าลังกาย
6หลีกเลี่ยงชา กาแฟ
Brace , Orthosis
Surgery – Pathological fracture
Gouty arthritis
เป็นโรคที่มีการอักเสบของข้อชนิดเป็นๆ หายๆ
สาเหตุ
Secondary Gout
Primary Gout
การวินิจฉัย
X-Ray
การตรวจทางหอ้ งปฏิบัติการ
การรักษา
ระยะอักเสบ
Indometacin
Corticosteroid
Colchicine
ช่วงไม่มีการอักเสบ
ยาขับกรดยูริค Probenecid, Sulfinpyazone
Allopurinol
อาการและอาการแสดง
มีอาการอักเสบเกิดขึ้น มักเกิดขึ้นกับข้อโคน นิ้วหัวแม่เท้าข้อเท้า, ข้อเข่า, ข้อนิ้ว, ข้อมือ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปวดข้อ เนื่องจากพยาธิสภาพของโรค
มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาพลักษณ์
เสี่ยงต่อการเกิดนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ ดื่มน้ำมากๆ
ขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและการรักษาพยาบาล
Bone tumor
มะเร็งกระดูกชนิดปฐมภูมิ
มะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ
การตรวจวินิจฉัย
X-RAY กระดูก ดูตeแหน่งปวด
MRI
Biopsy
Chest X-ray
CT Scan ปอด
การทำBone Scan
การรักษา
. การผ่าตัด Osteotomy
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
Fracture
Amputation
Joint replacement
การบาดเจ็บของกระดูกและข้อ
กระดูกหัก (Fracture)
สาเหตุของกระดูกหัก
การได้รบั แรงกระแทกโดยทางตรงหรอื ทางออ้ ม
อุบัติเหตุจากการจราจร
การหกล้มหรอื ตกจากที่สูง
การเล่นกีฬาทีใชก้ ําลังมาก
5.โรคกระดูก
6.อาชีพ
7.การหักที่เกิดจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ
การรักษากระดูกหกั และข้อเคลื่อน
Recognition
Reduction
Retention
การรักษากระดูกหัก
การรักษาโดยการผ่าตัด
การรักษาแบบประคับประคอง
2.ข้อเคลื่อน (Dislocation)
โรคกระดูกที่เกิดจากการติดเชื้อ
อักเสบเสบจากการติดเชื้อ (septic arthritis)
เชื้อที่เป็นเหตุ
-Staphylococcus
การวินิจฉัย
การตรวจ น;าเจาะข้อ พบ WBC > 50,000 cell/mm3
การยอ้ ม gram stain , culture น้้ำเจาะข้อ
X-ray , bone scan
การตรวจ CBC พบ WBC เพิมขึ้น, ESR สูง
การรักษาข้ออักเสบจากการติดเชื้อ
Supportive treatment
Drainage
Antibiotic
Splint , traction
ภาวะแทรกซ้อนของข้ออักเสบจากการติดเชื้อ
ทําลายกระดูกออ่ นผิวข้อ
ข้อหลุด ( ข้อสะโพก)
ทําลาย epiphysis
ทำให้เกิด Osteomyelitis ในกระดูกใกล้เคียง
โรคข้อเสื่่อม (osteoarthritis-OA)
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
การรักษาด้วยยา
การผ่าตัด
กระดูกอักเสบจาการติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปด บวม แดง ร้อน
เชื้อที่เป็นเหตุ
staphylococcus aureus 90%
การรักษา
การผ่าตัดระบายหนอง
กระดูกอักเสบติดเชื้อเรื้อรัง
สาเหตุ
ภาวะต่อเนื่องจาการอัก เสบเฉียบพลัน
เกิดตามหลังการติดเชื้อ จากอุบัติเหตุ(open fracture)
การรักษา
การใช้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด
เชื้อก่อโรค
Staph. aureus , E. coli, Strep pyogenes, Proteus,Pseudomonas
อาการทางคลินิก
อาจมีอาการปวด, ไข้
มี sinus tract
อาจมาด้วย Pathological fracture
วัณโรคกระดูกสันหลัง
การรักษา
ใหย้ าต้านเชื้อวัณโรค 2IRZE + 4IR
การผ่าตัด Debridement + Spinal fusion
การพยาบาลผู้ปวยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
(knee arthroplasty)
การพยาบาลหลังการผ่าตัด knee arthroplasty
วันที่3 หลังผ่าตัด
อธิบายการทำงานและวิธีเปิด-ปิดเครื่อง
จัดวางขาผู้ปวยบนเครื่่องให้ขาตั้งตรงไม่บิดออกหรอื หมุนไปด้านข้าง
ในช่วง 48 ชั่ว โมงแรกหลังผ่าตัด
โดยการตรวจดูปลายเท้า ทุก
3-4 ชั่ว โมง ดูสีผิว การเคลื่อนไหว อุณหภูม
เมื่ออกลับมาจากหอ้งผ่าตัดในระยะแรก
การจัดท่า