Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ ตา หู จมูก คอ
image, image, image, image,…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ ตา หู จมูก คอ
ตา Eye
ตากุ้งยิง (Stye)
-
การวินิจฉัย:สังเกตด้วยตนเองว่ามีอาการดังต่อไปนี้หรือไม่ เช่น มีตุ่มบวมหรือตุ่มหนองที่เปลือกตา เปลือกตาบวมแดง รู้สึกระคายเคืองตาโดยเฉพาะเวลากะพริบตา และเจ็บปวดบริเวณที่มีตุ่มขึ้น
ตากุ้งยิง แบ่งเป็น 2 ชนิด
-ตากุ้งยิงภายนอก มีตุ่มบวมเกิดขึ้นที่ขอบเปลือกตาด้านนอก อาจพัฒนาจนอักเสบและมีหัวหนอง ซึ่งจะสร้างความเจ็บปวดเมื่อสัมผัสโดน
-ตากุ้งยิงภายใน มีตุ่มบวมเกิดขึ้นด้านในของเปลือกตา สร้างความเจ็บปวดน้อยกว่าตากุ้งยิงภายนอก
การรักษา: ทำความสะอาดบริเวณดวงตา ยาปฏิชีวนะแบบขี้ผึ้งให้ใส่ไปยังจุดที่เป็นตากุ้งยิง หรือให้ยารับประทานในระยะสั้นๆ และการผ่าตัดเอาตุ่มออกไป
การป้องกัน:ไม่ใช้มือจับ ถู และขยี้บริเวณดวงตา ล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอ ไม่ใช้เครื่องสำอางที่หมดอายุ ไม่ใช้เครื่องสำอางร่วมกับผู้อื่น
-
-
-
ต้อกระจก (Cataracts)
-
การวินิจฉัย: การตรวจวัดสายตา (Visual Acuity Test) การทดสอบโดยขยายรูม่านตา (Retinal Eye Exam)การตรวจโดยใช้กล้องจักษุจุลทรรศน์ชนิดลำแสงแคบ (Slit Lamp Examination) การตรวจวัดความดันลูกตา (Tonometry Test)
-
-
ต้อหิน (Glaucoma)
-
การวินิจฉัย:ตรวจความดันลูกตา ตรวจประสาทตาและจอรับภาพ การวัดประสิทธิภาพของลานสายตา การวัดความหนาของกระจกตาการตรวจช่องทางการไหลของน้ำหล่อเลี้ยงในลูกตา
-
การป้องกัน: เข้ารับการตรวจสายตาอย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ โดยเฉพาะอาหารที่มีวิตามินบำรุงสายตา
หู Ear
แมลงเข้าหู
สิ่งแปลกปลอมมี2ชนิด
- สิ่งมีชีวิต เช่น แมลง
- สิ่งไม่มีชีวิต เช่น ดิน ลูกปัด เมล็ดพืช สำลี พลาสติก
การพยาบาล สิ่งมีชีวต
-เห็บ มด จะกัดแน่น ใช้แอลกอฮอล์ 70% หยอดลงไปฆ่า แล้วค่อยล้าง หรือคีบออก
-แมลงปีก แมลงสาป ใช้น้ำหยอดเข้าในรูหูจนเต็ม มันจะออกมาเอง ถ้าไม่ออกให้ใช้วิธีเดียวกันกับ มด และเห็บ
การพยาบาล สิ่งไม่มีชีวิต
-น้ำ ให้ใส่น้ำเพิ่มจนเต็มหู กดติ่งหน้าหู ให้น้ำรวมกันแล้วตะแคงออก
-วัตถุก้อนกลม เล็กๆ ให้ล้างออก
-วัตถุเป็นแผ่นเล็กๆ ชิ้นบาง ให้คีบออก
หูหนวก
Hearing loss
อาการ: ได้ยินเสียงพูดของผู้อื่นไม่ชัดเจนหรือได้ยินลำบากขึ้น มักให้ผู้อื่นพูดซ้ำ พูดให้ดังขึ้น หรือพูดช้าลง เวลาฟังเพลงหรือดูโทรทัศน์จะเปิดเสียงดังกว่าปกติ
การวินิจฉัย: ตรวจหู ตรวจคัดกรองด้วยส้อมเสียง (Tuning Fork Tests) ตรวจวัดการได้ยินด้วยเสียงบริสุทธิ์ (Pure-Tone Audiometry) ตรวจการได้ยินโดยการนำเสียงทางกระดูก (Bone Conduction Test) ตรวจคัดกรองการได้ยินในเด็กแรกเกิด (Newborn Hearing Screening)
ระดับของการได้ยิน
-หูตึงเล็กน้อย เสียงเบาที่สุดที่จะได้ยิน คือ 21-40 เดซิเบล
-หูตึงปานกลาง เสียงเบาที่สุดที่จะได้ยิน คือ 41-70 เดซิเบล
-หูตึงรุนแรง เสียงเบาที่สุดที่จะได้ยิน คือ 71-90 เดซิเบล
-หูหนวก เสียงเบาที่สุดที่จะได้ยินต้องมากกว่า 90 เดซิเบล
-
การป้องกัน: หลีกเลี่ยงเสียงที่ดังเกินไป ปกป้องด้วยการใช้ที่ป้องกันเสียง เลิกสูบบุหรี่ กำจัดขี้หูอย่างถูกวิธี ตรวจสอบการใช้ยาที่อาจมีผลกระทบต่อการได้ยิน ทดสอบการได้ยิน
-
-
จมูก Nose
เลือดกำเดาไหล
(Epistaxis)
สาเหตุ : การบาดเจ็บ เนื้องอกของจมูก มะเร็งหลังโพรงจมูก หลอดเลือดในจมูกฉีกขาด โรคเลือด ความดันโลหิตสูง พิษสุราเรื้อรัง ผู้ที่ได้รับเคมีบำบัด
การพยาบาล
- จัดให้นอนท่า ศีรษะสูง หรือนั่งก้มหน้าเล็กน้อย เพื่อไม่ให้เลือดไหลงคอ เพราะอาจจะทำให้คลื่นไส้ อาเจียน และไม่สามารถตรวจดูจำนวนเลือดที่ออกได้
-
- ถ้าเลือดไม่ออกมากให้บีบจมูกนาน 5-8 นาที และให้หายใจทางปาก
- ประคบเย็นที่สันจมูก ถ้าเลือดออกไม่หยุดอาจต้องใช้
- Adrenaline 1: 1,000 หรือ ephredine 1% พ่นจมูก หรือชุบก๊อสสอดเข้าในจมูก (ยกเว้นผู้ป่วยความดันโลหิตสูง)
- จี้ไฟฟ้าด้วย silvernitrate solution 10% และ Trichloracetic acid 30-50%
- Nasal packing ด้วย gelform ,finger cot
-
-
-
ไซนัสอักเสบ
(Sinusitis)
-
การพยาบาล
-
-
- ลดอาการบวมโดยใช้ยาหยอด หรือพ่นจมูก ที่ทำให้หลอดเลือดหดตัว
- งดใช้ยากลุ่ม steroid ในขณะที่มีการอักเสบติดเชื้อ
- ควบคุมการติดเชื้อโดยใช้ยาปฏิชีวนะ อย่างน้อย 14 วัน
- รับประทาน anti histamine และ anticongestant เพื่อบรรเทาอาการคัดจมูก
- ให้ยาละลายเสมหะ ให้ดื่มน้ำมากๆเพื่อละลายเสมหะ
-
- หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่ชุมชน เพื่อป้องกันการติดเชื้อไปสู่ผู้อื่น
- แนะนำสังเกตอาการแทรกซ้อนทางตา
-
-
คอ throat
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-