Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการพยาบาลเด็กบทที่ 4 - Coggle Diagram
สรุปการพยาบาลเด็กบทที่ 4
การสำลักสิ่งแปลกปลอมติดคอ
สิ่งแปลกปลอมติดคอ หมายถึง การที่สิ่งแปลกปลอมเข้าปาก จมูก และสำลักจนติดคอ
สาเหตุ
ความอยากรู้อยากเห็น
สนใจชอบค้นคว้า
ชอบพูดคุยหัวเราะหรือเล่นกันขณะรับประทานอาหาร
มักพบในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
ความประมาทของผู้เลี้ยงดู
พยาธิสภาพ
ทางเดินหายใจส่วนต้นของเด็กมีขนาดเล็กและแคบ ส่งผลต่อภาวะขาดออกซิเจน
การอุดกั้นอย่างสมบูรณ์จะทำให้อากาศหรือออกซิเจนเข้าสู่หลอดและปอดไม่เลย
เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนต้น
อาการ
ขณะหายใจหน้าอกบุ๋ม
หายใจลำบาก
อาการไอ
อาการเขียว
หายใจเข้ามีเสียงดัง
สำลัก
ไออย่างรุนแรง
การรักษา
เด็กโต ใช้เทคนิคกดบริเวณหน้าท้อง (Abdominal Thrust หรือเรียกว่า Heimlich Manuever)
เด็กเล็กอายุต่ำกว่า 1 ปี วางเด็กลงบนแขนของผู้ช่วยเหลือตบหลัง (Back Blow) สลับด้วยการอุ้มเด็กนอนหงายบนแขน กดบนหน้าอก (Chest Thrust) อย่างละ 5 ครั้ง จนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออก
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เนื้อเยื่อของร่างกายมีภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนต้น
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้เด็กได้รับการรักษาเบื้องต้นอย่างรวดเร็ว
ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
สังเกตบันทึกสัญญาณชีพ ทุก 1-2 ชั่วโมง
ประเมินอาการและอาการแสดงของการอุดกั้นทางเดินหายใจ
เตรียมอุปกรณ์ในการช่วยเหลือเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
เครื่องดูดเสมหะ
อุปกรณ์ให้ออกซิเจน
กระดูกหักและข้อเคลื่อน (Fracture and Dislocation)
กระดูกหัก หมายถึงภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกัน
ข้อเคลื่อน หมายถึงภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ที่ควรจะอยู่
สาเหตุ
อุบัติเหตุมีแรงกระแทก
ถูกตี
รถชน
ตกจากที่สูง
อาการ
มีอาการปวดและกดเจ็บ
บวม
รอยจ้ำเขียว
อวัยวะมีลักษณะผิดรูป มีการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ
หลักการการดูแลเมื่อเข้าเฝือก
ภายใน 24 ชั่วโมงแรกควรประเมินเด็กทุก 1 ชั่วโมงเพราะอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน
ยกส่วนที่เข้าเฝือกให้สูงเล็กน้อยด้วยการใช้หมอนรองใต้เผือก
ดูแลเผือกห้ามเปียกน้ำ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลเสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บเพิ่มเนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนข้อติดแข็ง กล้ามเนื้อลีบ แผลกดทับ
กิจกรรมการพยาบาล
เปลี่ยนท่าที่เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการเคลื่อนไหว
กระตุ้นให้เด็กมีการออกกำลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่กระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะอาการ
ลักษณะแผล
สิ่งคัดหลั่ง
อาการบวม
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ทำความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือก
ดูแลให้เด็กรับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
โปรตีน
แคลเซียม
การจมน้ำDrowning
Drowning ผู้ที่เสียชีวิตจากการจมน้ำ
Near-Drowning ผู้ที่จมน้ำแต่ไม่เสียชีวิตทันที บางรายอาจเสียชีวิตต่อมาในช่วงเวลาสั้นๆได้
พยาธิสภาพ
น้ำจะเข้ากล่องเสียงทำให้เกิดการหดเกร็งของกล่องเสียง
น้ำเข้าไปในปอด ทำให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้ เพราะถุงลมเต็มไปด้วยน้ำ
เด็กจะไอจากการระคายเคืองที่มีน้ำในจมูกและคอ
1.การจมน้ำเค็ม ( Salt-water Drowning)
ทำให้เกิดภาวะ pulmonary edema
เกิดภาวะ hypovolemia
น้ำเค็ม(Hypertonic solution)
การจมน้ำจืด (Freshwater-Drowning)
น้ำจืด (Hypotonic solution)
เกิด hypervolemia ทำให้ระดับเกลือแร่ในเลือดลดลง
วิธีช่วยเด็กจมน้ำที่ดีที่สุด
กรณีที่เด็กรู้สึกตัว ให้รีบเช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อผ้า ใช้ผ้าคลุมตัวเพื่อทำให้เกิดความอบอุ่น
จัดให้นอนในท่าตะแคงกึ่งคว่ำ
นำตัวเด็กขึ้นมาอยู่บนฝั่ง
เด็กหมดสติ เช็กว่ายังมีลมหายใจอยู่ไหม
เรียกหน่วยรถพยาบาล
ช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานโดยนวดหัวใจสลับกับการช่วยหายใจ
วิธีการช่วยหายใจโดยการเป่าปาก
จับศีรษะให้หงายขึ้นให้มากที่สุด
ตาดูที่หน้าอกว่าขยายหรือไม่
ถ้าเห็นอกไม่ขยาย ให้ปล่อยมือที่บีบจมูกไว้
4.เป่าลมเข้าไปใหม่ ทำสลับกับการนวดหัวใจ โดยนวดหัวใจ 30 ครั้ง สลับกับการเป่าปาก 2 ครั้ง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากมีการสูดสำลักสิ่งแปลกปลอมเข้าทางเดินหายใจ
กิจกรรมการพยาบาล
ให้ยาปฏิชีวนะทันทีตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งบอกถึงลักษณะของการติดเชื้อ
สภาพปอด
ลักษณะการหายใจ
สัญญาณชีพ
ลักษณะเสมหะ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลมีภาวะขาดออกซิเจน เนื่องจาก การสูดหายใจเอาน้ำเข้าไปในปอด
กิจกรรมการพยาบาล
ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
เพิ่มความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
สังเกตและประเมินอาการและอาการแสดง
ไฟไหม้และน้ำร้อนลวก (Burn and Scald)
ภาวะที่เนื้อเยื่อได้รับอันตรายจากการถูกความร้อนที่มากเกินทำให้เกิดการทำลายเนื้อเยื่อ
พยาธิสภาพ
หลอดเลือดถูกทำลายทำให้มีการรั่วของสารน้ำออกนอกหลอดเลือด
เกิดการบวมของเนื้อเยื่อ
มีการทำลายของ หลอดเลือดส่งผลให้เนื้อเยื่อบริเวณนั้นตาย
สาเหตุ
สารเคมี
ด่าง
กรด
รังสี
รังสีโคบอลต์
ระเบิดปรมาณู
แสงแดด
ความร้อน
น้ำร้อน
กระติกน้ำ
กาน้ำ
ไอน้ำ
หม้อน้ำ
น้ำมันร้อน ๆ
ไฟ
พลุ
ประทัด
ตะเกียง
เตาไฟ
บุหรี่
การเสียดสีอย่างรุนแรง
อาการ
ระดับที่ 1 (First degree burn)
ผิวหนังจะถูกทำลายเพียงบางส่วนอาการผื่นแดง ปวดแสบปวดร้อน ผิวหนังยังไม่พอง
ระดับที่ 2 (second degree burn)
จะปรากฏอาการบวมแดงมากขึ้น มีผิวหนังพอง และมีน้ำเหลืองซึม จะรู้สึกปวดแสบปวดร้อนมาก อาจทำให้สูญเสียน้ำ โปรตีน และเกลือแร่ และติดเชื้อได้ง่าย
ระดับที่ 3 (Third degree burn)
บาดแผลที่มีการทำลายของหนังกำพร้าและหนังแท้ทั้งหมด ต่อมเหงื่อ ขุมขน และเซลล์ประสาทผู้ป่วยจึงมักไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดที่บาดแผลเนื่องจากเส้นประสาทที่อยู่บริเวณผิวหนังแท้ถูกทำลาย
การรักษา
การรักษาบาดแผล
การตกแต่งบาดแผล (debridement)
ดูแลระบบไหลเวียน ด้วยการให้สารน้ำ
การปลูกถ่ายผิวหนัง (skin graft)
ช่วยหายใจ เด็กที่ถูกไฟไหม้ในที่ สูดควันหรือแก๊ส ต้องได้รับการดูแลในเรื่องการหายใจ
การปฐมพยาบาล
ไม่ควรใช้น้ำเย็นจัด น้ำจากตู้เย็น หรือน้ำแข็ง เพราะอาจทำให้บาดแผลลึกมากขึ้นได้
ล้างทำความสะอาดแผลด้วยน้ำสะอาดอุณหภูมิปกติ หรือเปิดน้ำให้ไหลผ่าน
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลเสี่ยงต่อความพิการเนื่องจากการหดรั้งของเนื้อเยื่อบริเวณแผล
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ยาแก้ปวด
ป้องกันการติดเชื้อ
ดูแลให้เด็กบริหารกล้ามเนื้อป้องกันการหดรั้ง และการยึดติดแข็งของข้อ
4.. ติดตามประเมินผล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลเสี่ยงต่อโภชนาการบกพร่อง เนื่องจากมีการเผาผลาญเพิ่มขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้เด็กได้รับสารอาหารครบทั้งคุณภาพและปริมาณ
ชั่งน้ำหนักวันละครั้ง เพื่อประเมินว่าเด็กได้รับสารอาหารเพียงพอ
สังเกตอาการที่เกิดในระบบทางเดินอาหาร
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 3เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากผิวหนังถูกทำลายและภูมิคุ้มกันลดต่ำลง
กิจกรรมการพยาบาล
ทำความสะอาดบาดแผลโดยเทคนิคปราศจากเชื้อ
สังเกตและประเมินลักษณะของบาดแผล
ดูแลให้เด็กได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
จัดให้เด็กให้อยู่ในห้องแยกเฉพาะ
สารพิษ ( Poisons)
จำแนกตามลักษณะการออกฤทธิ์
2.ชนิดทำให้ระคายเคือง (Irritants ) ทำให้เกิดอาการปวดแสบ ปวดร้อน
ได้แก่
สารหนู
ฟอสฟอรัส
อาหารเป็นพิษ
3.ชนิดที่กดระบบประสาท (Narcotics )ทำให้หมดสติ หลับลึก ปลุกไม่ตื่น
ได้แก่
มอร์ฟีน
พิษจากงู
ฝิ่น
1.ชนิดกัดเนื้อ (Corrosive ) ) ทำให้เนื้อเยื่อของร่างกายไหม้ พอง
ได้แก่
ด่างเข้มข้น
น้ำยาฟอกขาว
กรด
4.ชนิดที่กระตุ้นระบบประสาท (Dililants) ทำให้เกิดอาการเพ้อคลั่ง ใบหน้าและผิวหนังแดง
ได้แก่
ลำโพง
ยาอะโทรปีน
การประเมินภาวะการได้รับสารพิษ
เพ้อ ชัก หมดสติ ช่องม่านตาผิดปกติ อาจหดหรือขยาย
หายใจขัด หายใจลำบาก มีเสมหะมาก มีอาการเขียวปลายมือ
การคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง น้ำลายฟูมปาก
ตัวเย็น เหงื่อออกมาก มีผื่นหรือจุดเลือดออกตามผิวหนัง
การปฐมพยาบาล
รับสารกัดเนื้อ
อย่าทำให้อาเจียน
รีบนำส่งโรงพยาบาล
ถ้ารู้สึกตัวดีให้ดื่มนม
รับสารพวกน้ำมันปิโตเลียม
ห้ามทำให้อาเจียน
ถ้าผู้ป่วยอาเจียน ให้จัดศีรษะต่ำ เพื่อป้องกันการสำลักน้ำมันเข้าปอด
รีบนำส่งโรงพยาบาล
รับสารพิษทางปาก
นำส่งโรงพยาบาล
ทำให้ผู้ป่วยอาเจียน
ทำให้สารพิษเจือจาง ให้นม
รับ ยาแก้ปวด ลดไข้
ทำให้อาเจียน
ให้สารดูดซับสารพิษ
ทำให้สารพิษเจือจาง
รับสารพิษทางการหายใจ
นำผู้ป่วย ออกจากบริเวณที่เกิดเหตุ
ประเมินการหายใจและการเต้นของหัวใจ
กลั้นหายใจและรีบเปิดประตูหน้าต่าง ๆ
สารเคมีถูกผิวหนัง
บรรเทาอาการปวดและรักษาช็อค
ปิดแผล แล้วนำส่งโรงพยาบาล
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี
ล้างด้วยน้ำสะอาดนาน ๆ อย่างน้อย ๑๕ นาที
สารเคมีเข้าตา
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี
บรรเทาอาการปวดและรักษาช็อค
ล้างตาด้วยน้ำนาน ๑๕ นาที่
ปิดตา แล้วนำส่งโรงพยาบาล