Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ,…
บทที่ 4 การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ
สารพิษ ( Poisons)
ความหมาย
สารเคมีที่เข้าสู่ร่างกายแล้วทำให้เกิดอันตรายต่อโครงสร้างและหน้าที่ของร่างกาย
ประเภทสารพิษ
2.ชนิดทำให้ระคายเคือง (Irritants )
สารหนู
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ฟอสฟอรัส
4.ชนิดที่กระตุ้นระบบประสาท (Dililants)
ยาอะโทรปีน
ลำโพง
1.ชนิดกัดเนื้อ (Corrosive )
น้ำยาฟอกขาว
กรดและด่างเข้มข้น
3.ชนิดที่กดระบบประสาท (Narcotics )
มอร์ฟีน
พิษจากงูบางชนิด
ฝิ่น
ประเมินภาวะการได้รับสารพิษ
เพ้อ ชัก หมดสติ มีอาการอัมพาตบางส่วนหรือทั่วไป
หายใจขัด หายใจลำบาก มีเสมหะมาก มีอาการเขียวปลายมือปลายเท้า
การคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง น้ำลายฟูมปาก
ตัวเย็น เหงื่อออกมาก มีผื่นหรือจุดเลือดออกตามผิวหนัง
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารพิษทางปาก
นำส่งโรงพยาบาล เพื่อทำการล้างท้องเอาสารพิษออกจากกระเพาะอาหาร
ทำให้ผู้ป่วยอาเจียน เพื่อเอาสารพิษออกจากกระเพาะอาหาร
ข้อห้ามในการทำให้ ผู้ป่วยอาเจียน
ได้รับสารพิษชนิดกัดเนื้อ เช่น กรด ด่าง
รับประทานสารพิษพวก น้ำมันปิโตรเลียม
หมดสติ
ทำให้สารพิษเจือจาง ให้นม
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารกัดเนื้อ
อย่าทำให้อาเจียน
รีบนำส่งโรงพยาบาล
ถ้ารู้สึกตัวดีให้ดื่มนม
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารพวกน้ำมันปิโตเลียม
ห้ามทำให้อาเจียน
ระหว่างนำส่งโรงพยาบาล ถ้าผู้ป่วยอาเจียน ให้จัดศีรษะต่ำ เพื่อป้องกันการสำลักน้ำมันเข้าปอด
รีบนำส่งโรงพยาบาล
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับ ยาแก้ปวด ลดไข้
ทำให้อาเจียน
ให้สารดูดซับสารพิษ ที่อาจหลงเหลือในระบบทางเดินอาหาร
ทำให้สารพิษเจือจาง
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารพิษทางการหายใจ
นำผู้ป่วย ออกจากบริเวณที่เกิดเหตุไปยังที่มีอากาศบริสุทธิ์
ประเมินการหายใจและการเต้นของหัวใจ นำส่งโรงพยาบาล
กลั้นหายใจและรีบเปิดประตูหน้าต่าง ๆ เพื่อให้อากาศถ่ายเท
การปฐมพยาบาลเมื่อสารเคมีถูกผิวหนัง ,เข้าตา
ห้ามใช้ยาแก้พิษทางเคมี
บรรเทาอาการปวดและรักษาช็อค
ล้างด้วยน้ำสะอาดนาน ๆ อย่างน้อย ๑๕ นาที
ปิดแผล แล้วนำส่งโรงพยาบาล
การจมน้ำ ( Drowning )
ประเภทการจมน้ำ
Drowning ผู้ที่เสียชีวิตจากการจมน้ำ
Near-Drowning ผู้ที่จมน้ำแต่ไม่เสียชีวิตทันที บางรายอาจเสียชีวิตต่อมา
พยาธิสภาพ
ครั้งแรก
2.น้ำจะเข้ากล่องเสียงทำให้เกิดการหดเกร็งของกล่องเสียง
3.อากาศและน้ำเข้าหลอดลมไม่ได้เกิดภาวะขาดออกซิเจน
1.เด็กจะไอจากการระคายเคืองที่มีน้ำในจมูกและคอ
ตามด้วย
สูดหายใจเอาน้ำเข้าไปในปอด
ทำให้
ไม่สามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้ เพราะถุงลมเต็มไปด้วยน้ำ
รูปแบบการจมน้ำ
1.การจมน้ำเค็ม ( Salt-water Drowning)
ระดับเกลือแร่ในร่างกายสูงขึ้น
หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจวาย ช็อกได้
ปริมาตรน้ำที่ไหลเวียนในร่างกายลดลง เกิดภาวะ hypovolemia
การจมน้ำจืด (Freshwater-Drowning)
เกิด ภาวะhypervolemia
หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจวาย
อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกhemolysis
ทำให้ระดับเกลือแร่ในเลือดลดลง
การช่วยเหลือ
กรณีเด็กรู้สึกตัว
ให้รีบเช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อผ้า ใช้ผ้าคลุมตัวเพื่อทำให้เกิดความอบอุ่น จัดให้นอนในท่าตะแคงกึ่งคว่ำ แล้วนำส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด
กรณีเด็กหมดสติ
เช็กว่ายังมีลมหายใจหรือ หัวใจเต้นหรือไม่ ช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานโดยนวดหัวใจสลับกับการช่วยหายใจ
วิธีการช่วยหายใจโดยการเป่าปาก
2.ตาดูที่หน้าอกว่าขยายหรือไม่
ถ้าเห็นอกไม่ขยาย ให้ปล่อยมือที่บีบจมูกไว้ จากนั้นเป่าลมเข้าไปใหม่ ทำสลับกับการนวดหัวใจ โดยนวดหัวใจ 30 ครั้ง สลับกับการเป่าปาก 2 ครั้ง
1.จับศีรษะให้หงายขึ้นใช้ฝ่ามือกดหน้าผากของเด็กไว้ แล้วใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้บีบจมูก ใช้ปากครอบลงบนปากของผู้ป่วยให้มิด แล้วเป่าลมเข้าไปให้สุดลมหายใจของเรา
ไฟไหม้และน้ำร้อนลวก
ความหมาย
ภาวะที่เนื้อเยื่อได้รับอันตรายจากการถูกความร้อนที่มากเกินทำให้เกิดการทำลายเนื้อเยื่อและเกิดแผล
พยาธิสภาพ
เนื้อเยื่อที่สัมผัสความร้อน เกิดการทำลายของหลอดเลือด
ส่งผลให้
มีการรั่วของสารน้ำออกนอกหลอดเลือด
เกิดการรั่วไหลของพลาสมาซึ่งมีส่วนของอัลบูมิน
เกิดการบวมของเนื้อเยื่อ
มีเลือดมากเลี้ยงน้อยลงจากหลอดเลือดถูกทำลาย
เนื้อเยื่อบริเวณนั้นตาย
Type of Burns
แบ่งได้ 5 ประเภท
แผลไหม้จากสารเคมี
แผลไหม้จากรังสี
แผลไหม้จากกระแสไฟฟ้า
แผลไหม้จากความเย็น
แผลไหม้จากความร้อน
ความร้อนแห้ง
ความร้อนเปียก
อาการแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก
ขนาดความกว้างของบาดแผล
คือ
บริเวณพื้นที่ของบาดแผล บาดแผลที่มีขนาดใหญ่
ประเมินขนาดกว้างของบาดแผล
นิยมคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ผิวหนังทั่วร่างกาย
เทียบว่า แผลขนาด 1 ฝ่ามือของผู้ป่วย เท่ากับ 1% ของผิวหนังทั่วร่างกาย
ความลึกของบาดแผล
แบ่ง 3 ระดับ
ระดับสอง (second degree burn)
อาการ
ผิวหนังพอง และมีน้ำเหลืองซึม
ปวดแสบปวดร้อนมาก
ต่อมเหงื่อ และรูขุมขน จะปรากฏอาการบวมแดงมากขึ้น
ระดับที่ 3 (Third degree burn)
บาดแผลที่มีการทำลายของหนังกำพร้าและหนังแท้ทั้งหมด รวมทั้งต่อมเหงื่อ ขุมขน และเซลล์ประสาท และอาจกินลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อหรือกระดูก
อาการ
ไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดที่บาดแผล จากเส้นประสาทที่ผิวหนังถูกทำลาย
มีโอกาสเกิดแผลหดรั้งทำให้ข้อยึดติด
ระดับที่ 1 (First degree burn)
อาการ
ปวดแสบปวดร้อน
ผิวหนังยังไม่พองเช่น บาดแผลที่เกิดจากถูกน้ำร้อนลวก ถูกแสงแดด
อาการผื่นแดง
การรักษา
การรักษาบาดแผล
การตกแต่งบาดแผล (debridement) เป็นการกำจัดเนื้อตายจากบาดแผล ช่วยลดการติดเชื้อ
ดูแลระบบไหลเวียน ภาวการณ์ไหลเวียนล้มเหลว ด้วยการให้สารน้ำ
การปลูกถ่ายผิวหนัง (skin graft) ทำทุกรายที่ผิวหนังถูกเผาไหม้ทุกชั้น
ช่วยหายใจ เด็กที่ถูกไฟไหม้ในที่ สูดควันหรือแก๊ส ถูกความร้อนลวกบริเวณ ใบหน้า คอ ต้องได้รับการดูแลในเรื่องการหายใจ
กระดูกหักและข้อเคลื่อน (Fracture and Dislocation)
ความหมาย
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกัน
ข้อเคลื่อน
หมายถึงภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ที่ควรจะอยู่หรือกระดูกหลุดออกจากเบ้า
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สูง
อาการและอาการแสดง
บวม เนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหัก
รอยจ้ำเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนังหรือรอยฟกช้ำ
มีอาการปวดและกดเจ็บ โดยเฉพาะเมื่อมีการเคลื่อนไหว
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป มีการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ
หลักการการดูแลเมื่อเข้าเฝือก
24 ชั่วโมงแรกควรประเมินเด็กทุก 1 ชั่วโมงเพราะอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากเผือกบีบรัดแน่นเกิน
เคลื่อนไหวนิ้วมือนิ้วเท้าไม่ได้จากเส้นประสาทถูกกด
paralysis
อาการเจ็บปวดที่มากกว่าเดิม
pain
สังเกตการไหลเวียนเลือดบริเวณอวัยวะส่วนปลายคือปลายมือปลายเท้าผิวหนังเล็บ สีคล้ำ ซีด เย็น
pallor paresthesia
อาการบวม ซึ่งอาจเกิดจากการเข้าเผือกแน่นเกิน
swelling
จับชีพจรว่าเต้นแรงตีหรือไม่เปรียบเทียบกับแขนขาข้างที่ปกติ
pulselessness
ยกส่วนที่เข้าเฝือกให้สูงเล็กน้อยด้วยการใช้หมอนรองใต้เผือกความยาวของเผือกนานประมาณ 48 ชั่วโมง เพื่อช่วยลดอาการบวม
3.ดูแลเผือกห้ามเปียกน้ำ
การสำลักสิ่งแปลกปลอมติดคอ
หมายถึง
การที่สิ่งแปลกปลอมเข้าปาก จมูก สำลักจนติดคอ อุดกั้นกล่องเสียงและหลอดลมคอ
ส่งผลให้
เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนต้นอย่างเฉียบพลัน
สาเหตุ
พูดคุยหรือเล่นกันขณะรับประทานอาหาร
การรับประทานผลไม้ที่มีเมล็ด
การใส่สิ่งแปลกปลอมเข้าไปในส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น รูจมูก ปาก
พยาธิสภาพ
เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนต้น
เพราะ
กายวิภาคของทางเดินหายใจส่วนต้นของเด็กมีขนาดเล็กและแคบ
ส่งผล
ภาวะขาดออกซิเจน
อาการและอาการแสดง
อาการไอ
อาการเขียว
หายใจลำบาก ขณะหายใจหน้าอกบุ๋ม
สำลัก ไออย่างรุนแรง
หายใจเข้ามีเสียงดัง
การรักษา
เด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี
2.ตบหลัง (Back Blow) สลับด้วยการอุ้มเด็กนอนหงายบนแขน
3/ใช้นิ้วกลางและนิ้วนางของมือขวากดบนหน้าอก (Chest Thrust) อย่างละ 5 ครั้ง
1.ให้วางเด็กลงบนแขนของผู้ช่วยเหลือโดยให้ศีรษะต่ำ
4.ดูจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออก เปิดปากเด็กเพื่อดูสิ่งแปลกปลอม
เด็กโต
ใช้เทคนิค (Abdominal Thrust หรือเรียกว่า Heimlich Manuever)
2.ผู้ช่วยเหลือเข้าทางด้านหลัง ใช้แขนสอดสองข้างโอบผู้ป่วยไว้
3.มือซ้ายประคองมือขวาที่กำมือวางไว้ที่ใต้ลิ้นปี่ ดันกำมือขวาเข้าใต้ลิ้นอย่างรวดเร็ว
1.ทำในท่านั่งหรือยืนโน้มตัว ไปทางด้านหน้าเล็กน้อย
4.ดันเข้าใต้กระบังลมผ่านไปยังช่องทรวงอก เพื่อดันให้สิ่งแปลกปลอมหลุดออกจากกล่องเสียง
นางสาวนพวรรณ ดวงจันทร์ เลขที่ 34 รหัสนักศึกษา 62111301035