Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วัณโรค (Tuberculosis), แหล่งอ้างอิง
วิกานดา รัตนพันธ์. ( 2563). วัณโรค…
วัณโรค (Tuberculosis)
การวินิจฉัยวัณโรค
การทดสอบผิวหนัง
แพทย์จะทดสอบผิวหนังด้วยการใช้โปรตีนบริสุทธิ์ (PPD) จะฉีดสารโปรตีนบริสุทธิ์ที่มีสมบัติเหมือนเชื้อวัณโรค PPD 0.1 มิลลิลิตร เข้าสู่ผิวหนังชั้นบนสุดของผู้ป่วย หลังจากนั้น 2-3 วัน
ผิวหนังบริเวณที่ฉีดโปรตีนลงไป มีลักษณะเป็นวงกว้าง บวมใหญ่ขึ้นมากกว่า 5 มม. นั่นหมายถึงว่าผู้ป่วยมีเชื้อวัณโรคอยู่ในร่างกาย
หากผิวที่ได้รับการฉีดโปรตีนมีวงกว้างใหญ่ขึ้นระหว่าง 5-15 มม. แสดงว่าผู้ป่วยติดเชื้อวัณโรคอย่างแน่นอน
การเอ็กซเรย์หน้าอก
เพื่อหาจุดเล็กๆที่ปรากฏขึ้นที่ปอด หรือหาการเกิดฝีในปอด ซึ่งจุดที่เกิดขึ้นบริเวณปอด เป็นสัญญาณของการติดเชื้อวัณโรคปอด หรือเชื้อวัณโรคกำลังเพาะเชื้ออยู่บนปอดของผู้ป่วย
การตรวจเสมหะ
เมื่อการเอกซเรย์ปอดยีนยันผลได้แล้ว แพทย์จะสั่งตรวจเสมหะเพิ่มเติมโดยวิธีการตรวจนี้แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือวิธีตรวจเชื้อด้วยการส่องกล้องจุลทรรศน์ ,วิธีเพาะเชื้อ
การตรวจเลือด
แพทย์จะใช้วิธีตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อวัณโรค หากพบเชื้อแล้ว การตรวจเลือดสามารถยืนยันได้อีกว่าเชื้อวัณโรคนั้นอยู่ในระยะแฝงหรือระยะแสดงอาการ
-
-
-
-
สาเหตุ
ติดเชื้อไมโครแบคทีเรียมทูเบอร์คูโลซิส (Mycobacterium Tuberculosis) ที่สามารถแพร่กระจายได้ทางอากาศโดยผ่านทางการไอ จาม การพูด และการหายใจ
ความเสี่ยงของวัณโรคจะเพิ่มขึ้นหากเป็นผู้ที่เคยพักอาศัย หรือเดินทางมาจากพื้นที่ที่มีผู้ป่วยวัณโรคจำนวนมาก เคยมีการติดต่อและสัมผัสอย่างใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อ
อยู่ในระหว่างการรักษาอาการป่วยที่การรักษาส่งผลให้ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอลง เช่น การรักษาด้วยเคมีบำบัด หรือการรักษาด้วยชีวบำบัด
ผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรงจะเสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรคได้น้อยกว่า เพราะภูมิคุ้มกันของร่างกายจะกำจัดเชื้อได้เองตามธรรมชาติ หรือหากเคยได้รับเชื้อมาก่อนแล้วผู้ป่วยมีสุขภาพแข็งแรง เชื้อก็จะไม่แสดงอาการใด ๆ
-
การรักษา
รับประทานยารักษาวัณโรคที่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย อย่างน้อยประมาณ 6 เดือนถึง 9 เดือน ต้องรับประทานยาให้ครบกำหนดตามที่แพทย์สั่งเพื่อป้องกันเชื้อแบคทีเรียวัณโรคกลับสู่ร่างกาย
ยาที่พบบ่อยที่สุดสำหรับการรักษาวัณโรค TB ได้แก่isoniazid ,ethambutol (Myambutol) ,pyrazinamide,rifampin (Rifadin, Rimactane) ,rifapentine (Priftin)
ADRของยารักษาวัณโรค:ได้แก่ ไม่เจริญอาหาร , ปัสสาวะมีสีเข้มแดง หรือเหลืองเข้ม , มีไข้มากกว่า 3 วัน , คลื่นไส้อาเจียน วิงเวียนศีรษะ ,ผิวหนังเหลือง ซีด , มีอาการปวดท้อง
วิธีป้องกัน
สำหรับผู้ป่วย
ควรรับประทานยาตามแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด และรับประทานตามกำหนดระยะเวลา, ควรสวมใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลาหากต้องออกไปข้างนอก , ผู้ป่วยที่เคยรับเชื้อวัณโรคแล้ว ควรหลีกเลี่ยงการอยู่ในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการได้รับเชื้อวัณโรคอีก
สำหรับบุคคลทั่วไป
หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยวัณโรค ,ดูแลสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ , รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และหมั่นตรวจสุขภาพประจำปี
-
อาการ
ระยะแฝง (Latent TB)
เมื่อผู้ป่วยได้รับเชื้อแล้วจะไม่มีอาการใด ๆ แสดงให้เห็น เนื่องจากเชื้อไม่ได้รับการกระตุ้น แต่เชื้อยังคงอยู่ในร่างกาย และสามารถก่อให้เกิดอาการจนเข้าสู่ระยะแสดงอาการได้
-
ความหมาย
วัณโรค (Tuberculosis) คือโรคติดต่อที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียรุนแรง ซึ่งสามารถติดต่อกันผ่านทางอากาศได้ด้วยการหายใจ การจาม การไอ หรือการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคติดต่อกันเป็นเวลานาน ๆ วัณโรคเป็นโรคที่สามารถรักษาให้หายได้หากผู้ป่วยรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
-
-
-
-
-
-