Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบทที่ 4 - Coggle Diagram
สรุปบทที่ 4
การจมน้ำ
Drowning
-
พยาธิสภาพ
เมื่อเด็กจมน้ำและหายใจในน้ำครั้งแรกเด็กจะไอจากการระคายเคืองที่มีน้ำในจมูกและคอ น้ำจะเข้ากล่องเสียง อากาศเข้าหลอดลมไม่ได้ทำให้เกิดภาวะขากออกซิเจน
การจมน้ำ
จมน้ำจืด
Freshwater-Drowning
น้ำซึมเข้าระบบไหลเวียนเลือดของปอดอย่างรวดเร็ว เกิด Hypervolemai ทำให้เกลือแร่ในเลือดลด หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจวาย เกิดเม็ดเลือดแดงแตก(hemolysis)
จมน้ำเค็ม
Hypertonic solution
ทำให้เกิดภาวะ pulmonary edema ปริมาตรน้ำที่ไหลเวียนในร่างกายลดลง เกิดภาวะ hypovolemia ระดับเกลือแร่ในร่างกายสูงขึ้น หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจวาย ช็อกได้
วิธีช่วย
-
2.จับเด็กนอนหงาย หงายหน้าให้มากที่สุด ใช้ฝ่ามือกดหน้าผาก ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้บีบจมูก จากนั้นปากครอบลงบนปากของเด็กให้มิดแล้วเป่าลมไปให้สุดลมหายใจของเรา
-
-
-
-
-
-
การกำจัดสิ่งแปลกปลอม
สิ่งแปลกปลอมติดคอ
คือ
การที่สิ่งแปลกปลอมเข้าปาก จมูก และสำลักจนติดคอ อุดกั้นกล่องเสียงและหลอดลมคอ ส่งผลให้เกิดอาการของการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนต้นอย่างเฉียบพลัน
-
-
-
-
การพยาบาล
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
- สังเกตบันทึกสัญญาณชีพ ทุก 1-2 ชั่วโมง
- ดูแลให้เด็กได้รับการรักษาเบื้องต้นอย่างรวดเร็ว
- ประเมินอาการและอาการแสดงของการอุดกั้น
ทางเดินหายใจ
- เตรียมอุปกรณ์ในการช่วยเหลือเมื่อเกิด
ภาวะฉุกเฉิน เช่น อุปกรณ์ให้ออกซิเจน เครื่องดูด
เสมหะ
ไฟไหม้
-
พยาธิสภาพ
เนื้อเยื่อของร่างกายเมื่อสัมผัสกับความ ร้อน มีการทําลายของ หลอดเลือดส่ง ผลให้เนื้อเยื่อบริเวณนั้นตายทําให้มี เลือดมากเลี้ยงน้อยลงจากหลอดเลือด ถูกทําลายทําให้มีการรั่วของสารนํ้า ออกนอกหลอดเลือด เกิดการรั่วไหล ของพลาสมาซึ่งมีส่วนของอัลบูมิน บริเวณนั้นเกิดการบวมของเนื้อเยื่อ
-
อาการ
ขนาดความกว้างของบาดแผล
บริเวณ พื้นที่ของบาดแผล บาดแผลที่มีขนาดใหญ่ อาจ ทําให้ร่างกายสูญเสียนํ้า โปรตีน และเกลือแร่ถึง กับเกิดภาวะช็อกได้ และอาจมีโอกาสติดเชื้อ
ความลึกของบาดแผล
ผิหนังคนเราจะมีความลึก2ชั้นได้แก่ชั้นหนังกำพร้า(Epidermis) และชั้นหนังแท้(Dermis) เราสามารถ แบ่งบาดบาดแผลไฟไหมน้ำร้อนลวกออกได้เป็น3ระดับ
-
-
-
การปฐมพยาบาล
บาดแผลไฟไหม้นํ้าร้อนลวกระดับที่ 1 ให้ล้างทําความสะอาดแผลด้วยนํ้าสะอาด อุณหภูมิปกติ หรือเปิดนํ้าให้ไหลผ่าน หรือ แช่อวัยวะส่วนที่เป็นแผลลงในนํ้าสะอาด ประมาณ 15-20 นาที หรือจนกว่าอาการ ปวดแสบปวดร้อนจะลดลง
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 1
-
กิจกรรมการพยาบาล
ติดตามประเมินสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด เด็กอาจมี ปัญหาเรื่องการหายใจ คือเสียงแหบ ไอ แสบจมูก ปาก มีเศษ เขม่าในปาก เสมหะ หายใจลําบาก
-
-
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 4
-
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้เด็กได้รับสารอาหารครบทั้งคุณภาพและ ปริมาณ เด็กที่มีแผลไฟไหม้นํ้าร้อนลวก จะมีอัตราการเผา ผลาญสูงกว่าปกติความต้องการสารอาหารเพิ่มขึ้น เด็กได้ต้องได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ ควรเสริมอาหารพวก วิตามินและเกลือแร่อื่นด้วย
-
สังเกตอาการที่เกิดในระบบทางเดินอาหาร เด็กอาจมี เลือดออกในการรับประทานอาหารจากการที่มีแผลใน กระเพาะอาหาร
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล5
-
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้เด็กบริหารกล้ามเนื้อบริเวณแขนขา ที่เกิดจาก แผลความร้อนเพื่อป้องกันการหดรั้ง และการยึดติด แข็งของข้อ
-
-
-
-
ได้รับสารพิษ
คือ
สารพิษ ( Poisons)
-
สารเคมีที่มีสภาพเป็นของแข็ง ของเหลวหรือก๊าซ
ซึ่งสามารถเข้าสู่ร่างกายโดยการรับประทาน
การฉีด การหายใจหรือการสัมผัสทางผิวหนัง
-
-
การปฐมพยาบาล
-
ได้รับ ยาแก้ปวด ลดไข้
อาการและอาการแสดง
ยาแอสไพริน
หูอื้อ เหมือนมีเสียงกระดิ่งในในหู การได้ยินลดลง เหงื่อออกมากปลายมือปลายเท้าแดง ชีพจรเร็ว คลื่นไส้อาเจียน หายใจเร็ว ใจสั่น
ยาพาราเซตามอล
ยานี้จะถูกดูดซึมเร็วมาก โดยเฉพาะในรูปของสารละลาย ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ง่วงซึม เหงื่อออกมาก ความดันโลหิตต่ำสับสน เบื่ออาหาร
-
-
-
-
-
-