Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่11การพยาบาลผู้ป่วยทึ่มีพยาธิสภาพ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉียบพ…
บทที่11การพยาบาลผู้ป่วยทึ่มีพยาธิสภาพ
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
Anatomy of bone
กระดูกยาว (Long bones) เป็นกระดูกจาพวกรยางค์มีลักษณะรูปยาว ส่วนกลาง เรียว คอดเป็นท่อกลวงเรียกว่า shaft ตอนปลายทั้งสองข้างจะโตออกเล็กน้อยเพื่อ ประกอบเป็นข้อต่อ เรียก Epiphysis เช่น กระดูกแขน ขา เป็นต้น
กระดูกสนั้ (Short bones) เป็นกระดูกท่อนสั้นๆ ประกอบด้วยกระดูกพรุน (Spongy bones) และหุ้มบางๆด้วยกระดูกแข็ง (Compact bones) เช่น กระดูกข้อมือ, ข้อเท้า
กระดูกแบน (flat bones) กระดูกชนิดนี้มีลักษณะแบนและบางประกอบด้วย กระดูก 3 ชั้น ชั้นนอกและชั้นในเป็นกระดูกแข็ง ส่วนชั้นกลางเป็นกระดูกพรุน เช่น กระดูกเชิงกราน กระดูกสะบัก กระดูกกะโหลกศีรษะ กระดูกซี่โครง ฯลฯ
กระดูกรปูแปลก(Irregularbones)กระดูกพวกนี้มีรูปร่างต่างๆกันไม่แน่นอน เช่น กระดูกสันหลัง
โครงสร้างของระบบกระดกูและ
กล้ามเนื้อ
กระดูก (Skeleton)
ข้อ(Joint)
กล้ามเนื้อ(Muscle)
-เน้ือเยื่อเกี่ยวพัน(Connectivetissue)
กระดูกอ่อน(cartilage),เอ็น (Tendons) และเอ็นยึด(Ligaments)
การหดตัวของกล้ามเนื้อ
1การหดตัวสั้นเข้าเรียกว่าIsotoniccontractionเช่นการเคลื่อนไหวของข้อ
2 การหดตัวแนน่ เขา้ เรียกว่า Isometric contraction เช่น การต้านน้าหนัก
หน้าที่ของกระดูก
-ช่วยรองรับอวยัวะต่างๆให้และต้ังอยู่ในตำแหน่งที่ควรอยู่
-เป็นส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนไหว
-เป็นโครงร่างส่วนแข็ง
-เป็นท่ียึดเกาะของกล้ามเน้ือต่างๆและเอ็น
-ช่วยป้องกันอวัยวะที่สำคัญภายในร่างกายไม่ให้เป็นอันตราย
-ผลิตเม็ดเลือดแดง
เป็นที่เก็บธาตุแคลเซยีมและฟอสฟอรัสในร่างกาย
[การประเมินสภาพของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ]
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
อาการปวด
ปวดบริเวณใด
ลักษณะการปวด
ระยะเวลาท่ีมีอาการปวด
สิ่งท่ีกระตุ้น หรือ บรรเทา อาการปวด
-การสูญเสียความสามารถการทำงาน การเคลื่อนไหวผิดปกติ
โรคประจาตัวเช่นDM HT
การผ่าตัด
การแพ้ยา
การตรวจร่างกาย
การดู
การเคาะ
การฟัง
การวัด
การขยับ
การตรวจพิเศษอื่นๆ
Arthrography ฉีดสารทึบแสงเข้าไปในข้อ แล้วถ่ายภาพรังสี เพื่อดูโครงสร้างและกายวิภาค ภายในข้อ ข้อที่นิยมตรวจคือ ข้อไหล่ ข้อเข่า
Arthroscopy การตรวจสภาพภายในข้อโดย การสอดใส่อุปกรณ์พร้อมเลนส์เข้าไปในข้อและ ตัดชิ้นเนื้อหรือนาน้าภายในข้อมาตรวจ
Arthrocentesis การเจาะเข้าไปในข้อโดยใช้ เข็มที่มีขนาดเหมาะสมกับข้อเพื่อนาน้าไขข้อ Synovial fluid ไปวิเคราะห
ประวัติในครอบครัว
ประวัติในอดีต
โรคทางพันธุกรรม
ประวัติโรคติดต่อในครอบครัว
การรักษา
การรักด้วยยา
การรักด้วยการผ่าตัด
การฟื้นฟูสภาพ
โรคกระดูกที่ไม่เกิดจาดกติดเชื้อ
noninfectious orthopedics diseases
เก๊าท์ (Gout)
เป็นโรคที่มีการอักเสบของข้อชนิดเป็นๆ หายๆ จากการท่ีมีกรดยูรคิ ในเลือดมากกวา่ ปกติ
โดยส่วนใหญ่พบในชายวัยกลางคนและหญิงวัยหมดประจาเดือน
Rheumatoid arthritis
-อาการเด่นคือข้ออักเสบมักเป็นข้อเล็กก็ๆเช่นมือและเท้า
osteoporosis)
เป็นโรคเกิดจากมวลกระดูกมีความหนาแน่น ลดลงทาให้กระดูกเกิดการเปราะบางและแตกหัก ได้ง่าย โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น
1 แบบปฐมภมู ิ
เกิดจากการสูญเสียมวลกระดูกเกิดจากอายุที่ เพิ่มมากขึ้น หรือไม่ทราบสาเหต
2แบบทุตยิภูมิ
เกิดจากการสูญเสียมวลกระดูกจาก พฤติกรรม โรคหรือ การใช้ยา
Bone tumor
มะเร็งกระดูกชนิดปฐมภมู ิ (primary malignant bone tumor) คือ มะเร็งที่ เริ่มเกิดขึ้นในกระดูกโดยมากจะหมายถงึพวกsarcomaสาเหตุจากความผดิปกติ ของยีนการได้รบัรังสีการอักเสบติดเชอื้เรอื้รังความบกพรอ่งของระบบเผาผลาญและ ฮอร์โมนแสงแดดและการสบูยาเสน้เป็นต้น
2. มะเร็งกระดูกชนิดทุติยภูมิ (secondary malignant bone tumor or metastatic bone tumor) คือ มะเร็งที่แพร่กระจายจากอวยั วะอนื่ มายงั กระดูก หรือ carcinoma ซึ่งไม่สามารถรักษาให้หายขาดได
การบาดเจ็บของกระดูกและข้อ
กระดูกหัก (Fracture)
กระดูกหรือส่วนประกอบของกระดูก เกิดการแตก แยก หรือขาดการ เชื่อมต่อเป็นบางส่วน (incomplete fracture) หรือทั้งหมด (complete fracture) โดยสามารถเกิดได้กับกระดูกทุกชิ้นในร่างกาย และเกิดได้ทุกช่วงวัย
การหักชนิดที่ไม่มีบาดแผลปรากฏเรียกว่า
closed หรือ simple
การหักของกระดูกชนิดที่กระดกูแทงทะลุ ผิวหนังออกมาภายนอก เรียกว่า open หรือ compound fracture
สาเหตุของกระดูกหัก
การได้รับแรงกระแทกโดยทางตรงหรือทางอ้อม แล้วส่งผลให้กระดูกแตกหรือแยกออกจากกัน
. อุบัติเหตุจากการจราจร
การหกล้มหรือตกจากที่สูง
การเล่นกีฬาที่ใช้กาลังมา
โรคกระดูก เช่น เน้ืองอกกระดูก ภาวะกระดูกพรุน ซึ่งโรคเหล่าน้ีแม้ได้รับแรงกระแทก เพียงเล็กน้อยก็มี โอกาสเกิดการหักของกระดูกได
การรกัษากระดกูหักและข้อเคลื่อน
Recognition การวินิจฉัย
X-ray : A-P direction, lateral direction โดยต้องถ่ายภาพ รังสีให้ครอบคลุมปลายกระดูก ท้ังสองปลายเพื่อเปรียบเทียบแขน-ขาส่วน เดียวกันทั้งสองข้าง
-ถ่ายภาพรังสีโดนใช้สารทึบแสงContrastmediaหรือ Angiography เพื่อตรวจดูการฉีกขาดหรือการอุดตันของเส้นเลือด
CT-SCAN
MRI
การจดักระดูกใหเ้ข้าที่(reduction)
1การจัดเข้าที่แบบปิด (closed reduction)
2การจัดเข้าที่แบบเปิด (opened reduction)
3.การดามกระดูกใหอยู่กับท่ี(retention)
เฝือก
วัสดุยึดตรึงกระดูกภายใน เช่น screw , pin , K-wire , plate and nail
วัสดุยึดตรึง กระดกู ภายนอก เช่น external fixato
4.การฟื้นฟูสมรรถภาพ Rehabilitation
1.การใช้ความรอ้น
2.การใชค้วามเยน็ 3.เครื่องมอืไฟฟา้เช่นเครอื่งกระตุ้นกลา้มเนอื้ไฟฟา้EMS 4.การใชน้า้ในการรกัษา
การออกกาลังกาย
การนวด การดึง การดัด 7.กายอปุกรณเ์ทียมและกายอปุกรณเ์สรม
การรักษากระดกูหัก
เป้าหมายคือการกระดูกเชื่อมติดกันในลักษณะที่ใกล้เคยีงกับกายวิภาคเดิม มากท่ีสุด จนเกิดความแข็งแรงและสามารถเคลื่อนไหวหรือรบั น้าหนักได้เป็นปกติ
แบ่งออกเป็น 2 วิธี ดัง
การรักษาแบบประคับประคอง (Conservative methods)
การรักษาโดยการผ่าตัด (Operational methods)
การดึงถ่วงน้ำหนัก Traction
หมายถึงการใช้แรงดึงบริเวณแขน ขา ลาตัว หรือศีรษะโดยใช้น้าหนักถ่วงส่วนของร่างกายใน ทิศทางตรงกันข้ามกับแรงดึงของกล้ามเน้ือ
มีวัตถุประสงคเ์พอื่ ดึงกระดูกที่หัก หรือเคลื่อน ให้เข้าท่ี บรรเทาอาการปวด อาการหดเกร็ง ของกล้ามเนื้อ ป้องกัน แก้ไขรูปพิการ และให้ อวัยวะส่วนนั้นอยู่นิ่ง
แรงท่ีใช้ดึงอาจเกิดจากการใช้มือหรือใช้น้าหนัก ถ่วง (โดยลูกตุ้ม 1 ปอนด์ (pound) มีน้าหนัก ประมาณ 0.45 กิโลกรัม)
Skin traction
เป็นการดึงถ่วงน้ำหนักผ่านผิวหนัง และ soft tissue ไปยังกระดูกโดยอาศัยแรงดึงระหว่าง แถบพลาสเตอร์เหนียว (adhesive tape) กับ ผิวหนัง เช่น
•ผู้ป่วยที่กระดูกต้นขาส่วนคอหัก (fracture neck of femur) ใช้ดึงช่ัวคราวก่อนการผ่าตัดใส่โลหะยึด ตรึงภายในหรือผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม โดยดึงนาน ประมาณ 3-4 สัปดาห์ น้าหนักดึงถว่ ง 2-5 กิโลกรัม
Skeleton texsion
เป็นการดึงถ่วงน้าหนักโดยตรงที่กระดูก ด้วยแท่งโลหะขนาดใหญ่ (pins) สกรู (screws) ลวดขนาดเล็ก (wires) ผ่านเข้าไปในกระดูก
ใช้รักษาผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่กระดูกบริเวณข้อศอกหกั (fracture of the olecranon) กระดูกต้นต้นขาส่วนกลางหัก (fracture of the femoral shaft) กระดูกหน้าแข้งหัก (fracture of tibia) เป็นต้น
ดึงถ่วงน้าหนักโดยใช้ tongs ถ้าพบว่า กระดูกสันหลังส่วนคอหัก หรือ เคล่ือน