Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉียบพ…
บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง (ต่อ)
การบาดเจ็บของกระดูกและข้อ
nizantin (Fracture) กระดูกหัก
กระดูกหัก (Fracture) กระดูกหัก (Fracture)
หมายถึงกระดูกหรือส่วนประกอบของกระดูกเกิดการแตกแยกหรือขาดการเชื่อมต่อเป็นบางส่วน (incomplete fracture) หรือทั้งหมด (complete fracture) โดยสามารถเกิดได้กับกระดูกทุกชิ้นในร่างกายและเกิดได้ทุกช่วงวัย
ประเภทของกระดูกหัก (Fracture)
1. Avulslon Fracture
เป็นการหักของกระดูกที่มีสาเหตุมาจากการดึงรั้งของเอ็นกล้ามเนื้อที่ยึดกระดูกนั้นทำให้กระดูกถูกดึงหลุดออกไป
2. Colles Fracture
กระดูกหักบริเวณส่วนปลายด้านล่างของกระดูกเรเดียสมักพบจากการกระแทกเวลาล้มแล้วงอข้อมือ
3. Comminuted Fracture
การที่ชิ้นส่วนของกระดูกแตกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย
4. Compression Fracture
การหักของกระดูกที่มีสาเหตุมาจากการที่กระดูกอัดเข้าหากัน
5. Direct Fracture
การหักของกระดูกตำแหน่งที่ได้รับอันตรายโดยตรง
6. Dislocation Fracture
การที่กระดูกหักบริเวณตำแหน่งที่ใกล้กับกระดูกหุ้มข้อแล้วมีการเคลื่อนของข้อ
7. Double Fracture
กระดูกชิ้นเดียวกันหัก 2 แห่ง
8. Epiphyseal Fracture
การหักบริเวณตำแหน่งส่วนปลายของกระดูก
9. Fatigue Fracture
การหักของกระดูกที่เกิดจากแรงเค้นเป็นระยะเวลานาน ๆ มักเป็นบริเวณกระดูกเท้าและหน้าแข้ง
10. Greenstick Fracture
การที่ปลายด้านหนึ่งของกระดูกแตกหักส่วนอีกด้านหนึ่งมีการโค้งงอและขาดเลือดไปเลี้ยง
11. Oblique Fracture
การหักของกระดูกตามแนวเฉียง
12. Indirect Fracture
การหักของกระดูกที่เกิดขึ้นในตำแหน่งที่ไม่ได้รับแรงกระทำโดยตรง แต่จะมีการหักเหของกระดูกที่อยู่ไกลออกไป
13. Pathological Fracture
การหักเหของกระดูกที่เกิดจากแรงกระทำที่ไม่รุนแรง แต่กระดูกมีพยาธิสภาพอยู่ก่อน
14. Silver-Fork Fracture
การหักที่ส่วนปลายล่างของกระดูกเรเดียส
15. Splral Fracture
natin ของกระดูกที่เป็นแบบบันไดเวียน
16. Transverse Fracture
หมายถึงกระดูกทักตามแนวขวางของกระดูกเกิดจากมีแรงมากระทำที่บริเวณนั้นโดยตรง
สาเหตุของกระดูกหัก
1. การได้รับแรงกระแทกโดยทางตรงหรือทางอ้อมแล้วส่งผลให้กระดูกแตกหรือแยกออกจากกัน 2. อุบัติเหตุจากการจราจร 3. การหกล้มหรือตกจากที่สูง 64. การเล่นกีฬาที่ใช้กำลังมากสาเหตุของกระดูกหัก» 5. โรคกระดูกเช่นเนื้องอกกระดูกภาวะกระดูกพรุนซึ่งโรคเหล่านี้แม้ได้รับแรงกระแทกเพียงเล็กน้อยก็มีโอกาสเกิดการหักของกระดูกได้ 6. อาชีพที่เสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักเช่นขับรถแข่งอเมริกันฟุตบอลฟุตบอลเป็นต้น 7. การทักที่เกิดจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ (tendon) หรือแรงกระชากของเอ็นยึดข้อ (ligament) แล้วทำให้กระดูกส่วนที่อยู่ใกล้กับที่ยึดเกาะเกิดการหักเรียกว่า avulsion fracture
การรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
Recognition 2. Reduction การวินิจฉัยการจัดกระดูกให้เข้าที่การคามกระดูกให้อยู่กับที่การฟื้นฟูสมรรถภาพ 3. Retention 4. Rehabilitation
1. Recognition
การวินิจฉัยการตรวจโดยภาพถ่ายรังสีช่วยในการวินิจฉัยผู้ป่วยที่มีปัญหากระดูกมีดังนี้»-X-ray: A-P direction, lateral direction โดยต้องถ่ายภาพรังสีให้ครอบคลุมปลายกระดูกทั้งสองปลายเพื่อเปรียบเทียบแขน-ขาส่วนเดียวกันทั้งสองข้าง-ถ่ายภาพรังสีโดยใช้สารทึบแสง Contrast media หรือ Anglography เพื่อตรวจดูการฉีกขาดหรือการอุดตันของเส้นเลือด-CT-SCAN-MRI
2. การจัดกระดูกให้เข้าที่
(reduction)) 1 การจัดเข้าที่แบบปิด (closed reduction) 2 การจัดเข้าที่แบบเปิด (opened reduction) MMA 3. การคามกระดูกให้อยู่กับที่ (retention)-เสือก-วัสดุยึดตรึงกระดูกภายในเช่น screw, pin, K-wire, plate and nail-วัสดุยึดตรึงกระดูกภายนอกเช่น external fixator
4. การฟื้นฟูสมรรถภาพ Rehabilitation
1. การใช้ความร้อน 2. การใช้ความเย็น 3. เครื่องมือไฟฟ้าเช่นเครื่องกระตุ้นกล้ามเนื้อไฟฟ้า EMS 4. การใช้น้ำในการรักษา 5. การออกกำลังกาย 6. การนวดการดึงการคัด 7. กายอุปกรณ์เทียมและกายอุปกรณ์เสริม
การรักษากระดูกหักเป้าหมายคือ
การกระดูกเชื่อมติดกันในลักษณะที่ใกล้เคียงกับกายวิภาคเดิมมากที่สุดจนเกิดความแข็งแรงและสามารถเคลื่อนไหวหรือรับน้ำหนักได้เป็นปกติแบ่งออกเป็น 2 วิธีดังนี้> การรักษาแบบประคับประคอง (Conservative methods) การรักษาโดยการผ่าตัด (Operational methods) D Conservative methods » closed reduction การจัดกระดูกที่หักให้เข้าที่ตามเดิมซึ่งอาจใช้แรงดึงจากภายนอกด้วยมือ (manual manipulation) » Immobilization ให้อวัยวะที่หักนั้นอยู่นิ่ง Cast การใส่เฝือก> skin หรือ skeletal traction ดึงกระดูกด้วยการถ่วงน้ำหนัก (skin หรือ
การดึงถ่วงน้ำหนัก Traction
หมายถึง
การใช้แรงดึงบริเวณแขนขาลำตัวหรือศีรษะโดยใช้น้ำหนักถ่วงส่วนของร่างกายในทิศทางตรงกันข้ามกับแรงดึงของกล้ามเนื้อมีวัตถุประสงค์เพื่อดึงกระดูกที่หักหรือเคลื่อนให้เข้าที่บรรเทาอาการปวดอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อป้องกันแก้ไขรูปพิการและให้อวัยวะส่วนนั้นอยู่นิ่งแรงที่ใช้ดึงอาจเกิดจากการใช้มือหรือใช้น้ำหนักถ่วง (โดยลูกตุ้ม 1 ปอนด์ (pound) มีน้ำหนักประมาณ 0.45 กิโลกรัม)
วัตถุประสงค์ดึงกระดูกให้เข้าที่ (Reduction)-
บรรเทาอาการปวด (Relve pain)-บรรเทาอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ (Relive muscle spasm)-ป้องกันและแก้ไขความพิการนั้น (Prevent and correct deformitles) ให้อวัยวะนั้นอยู่นิ่ง (Immobilization)
หลักการดึงถ่วงน้ำหนัก Traction
1. Correct body alignment: รักษาแนวของลำตัวให้ถูกต้อง 2. Counter traction: เป็นการใช้แรงต้านในทิศทางตรงข้ามกับแนวคิงที่เข้า traction เพื่อให้การถ่วงน้าหนักได้ผลดี 3. Prevent friction: โดยลดแรงเสียดทานโดยดูแลไม่ให้ตุ้มน้ำหนักแตะขอบเตียงพิงเตียงหรือติดพื้นไม่ให้มีปุ่มปมบนเชือกเชือกที่ใช้กิ่งต้องไม่ตกจากรางรอก 4. Continuous traction ะควรดึงถ่วงน้ำหนักตลอดเวลาไม่ควรปลคตุ้มน้าหนักออกโดยไม่มีแผนการรักษาของแพทย์ 5. LIne of pull ะแนวการดึงต้องผ่านตำแหน่งที่กระดูกหักเชือกที่ใช้ดึงต้องตึงและเหนียวพอที่จะทานน้ำหนักที่แขวนได้น้ำหนักที่ใช้ถ่วงต้องแขวนลอยอิสระเสมอ 66. Position ของผู้ป่วยผู้ป่วยเคลื่อนไหวได้เท่าที่จำเป็น
ถ่วงน้ำหนักแบบ Skin Traction
Skin traction D เป็นการดึงถ่วงน้ำหนักผ่านผิวหนังและ soft tissue
ไปยังกระดูกโดยอาศัยแรงดึงระหว่างแถบพลาสเตอร์เหนียว (adhesive tape) กับผิวหนังเช่น "ผู้ป่วยที่กระดูกต้นขาส่วนคอหัก (fracture neck of femur) ใช้ดึงชั่วคราวก่อนการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายในหรือผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมโดยดึงนานประมาณ 3-4 สัปดาห์น้ำหนักดึงถ่วง 2-5 กิโลกรัม
ข้อบ่งชี้ในการ On Skin traction
-กระดูกที่หักเป็นกระดูกระยางค์ขนาดเล็กไม่ต้องใช้แรงดึงมาก-Immobilze ให้อวัยวะส่วนที่บาดเจ็บได้พักอยู่นิ่ง ๆ เพื่อลดอาการปวดหรือก่อนผ่าตัด
ข้อดี-ข้อเสียการ On Skin traction
ข้อดี
-หลีกเลี่ยงการใส่แท่งโลหะเข้าไปในกระดูกซึ่งอาจเกิดการติดเชื้อได้ C
ข้อเสีย
-ทำให้เกิดเกิดการระคายเคืองที่ผิวหนังเกิดแผลถลอกและผื่นคันได้
การพยาบาลก่อน On Skin traction
D ด้านจิตใจด้านร่างกายเตรียมอุปกรณ์เตรียมผิวหนัง Skin traction (Buck's extension traction) อุปกรณ์: »-Adhesive tape กว้าง 2 นิ้วหรือ commercial Sponge traction 1 อัน - Elastic bandage นิ้วจำนวน 1 ม้วน-เชือกยาวประมาณ 1 หลาน้ำหนัก-หมอน 1 ใบสำหรับหนุนท่อนล่างของผู้ป่วย-เตียงผู้ป่วยพร้อม frame กับ pulley ทั้งในรูป»-Shack block 6 นิ้วจำนวน 2 อัน
การถวงน้ำหนักแบบ Skeletal traction
Skeletal traction เป็นการดึงถ่วงน้ำหนักโดยตรงที่กระดูกด้วยแท่งโลหะขนาดใหญ่ (pins)
สกรู (Screws) ลวดขนาดเล็ก (wires) ผ่านเข้าไปในกระดูก-ใช้รักษาผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่กระดูกบริเวณข้อศอกหัก (fracture of the olecranon) กระดูกต้นต้นขาส่วนกลางหัก (fracture of the femoral shaft) กระดูกหน้าแข้งหัก (fracture of tibia) เป็นต้นดึงถ่วงน้ำหนักโดยใช้ tongs ถ้าพบว่ากระดูกสันหลังส่วนคอหักหรือเคลื่อน
ข้อบ่งชี้ในการ On Skeletal traction
"ดึงชิ้นกระดูกที่พักให้เข้าที่เดิมแยกชิ้นกระดูกหักไม่ให้เคลื่อนออกจากกันบังคับให้ในกระดูกที่ทักที่จัดเข้าที่แล้วไม่เคลื่อนหลุดจากกันและให้กระดูกนั้น ๆ อยู่นิ่ง ๆ คือทำหน้าที่ Immobilization" ใช้กับกระดูกพักในตำแหน่งที่มีกล้ามเนื้อมัดใหญ่และแข็งแรงเช่น O # Shaft of femur 0 กระดูกรูปยาวทักเป็น commlnuted fractures 0 กระดูกรูปยาว long bone หักแบบไม่มั่นคง 0 กระดูก cervlcal spine พักแบบไม่มั่นคง 0 กระดูกเชิงกรานซักแบบไม่มั่นคง 0 กระดูกหักและข้อเคลื่อน (Fracture dislocation
วิธีและขั้นตอนการใส่ Skeletal tractlon
ฟอกเตรียมผิวหนังบริเวณที่จะใส่และทายาฆ่าเชื้อเหมือนการทำผ่าตัดปกติ-ใช้มีดปลายแหลมเจาะผ่านผิวหนังที่จะใส่หลังจากฉีดยาชาเฉพาะที่แล้ว-ถ้าใช้ Steinmann pin ขนาดใหญ่ควรใช้สว่านเจาะนำก่อนเพื่อป้องกันกระดูกตายจากความร้อนแล้วเจาะใส่ pin จนทะลุเปลือกกระดูกค้านตรงก้ pin ออกมาตุงอยู่ใต้ผิวหนังจึงฉีดยาชาบริเวณนั้นก่อนกรคผิวหนังให้ทะลุออกมา»ประกอบชุดเครื่องดึงแล้วปิดแผลตามปกติบริเวณเจาะใส่ pin
ภาวะแทรกซ้อนการใส่ traction
O Pressure sore oCompartment Syndrome มักเกิดจากการพันผ้าเทปแน่นเกินไป (tight wrap) ทำให้ความดันในช่องกล้ามเนื้อหรือ fascial compartment สูงขึ้นผู้ป่วยจะมีอาการปวดขา O กดประสาท Peroneal
เนื่องจากการพันเทปกาวแน่นและร้อบริเวณ neck of fibula มากเกินไปผู้ป่วยจะมีอาการปลายเท้าตก (foot drop)
Delay unlon or Non unlon O เกิดแผลบริเวณผิวหนังจากแพ้เทปเหนียว O ผิวหนังตาย (necrosls) จากแรงที่ดึงกระทำต่อผิวหนังโดยตรง O อาการบวมปลายเท้า (foot Swelling) การพันรักเทปแน่นเกินไป
operational methods
operational methods เป็นการรักษาด้วยวิธีการผ่าตัดแบบเปิด (open reduction)-
Internal Flxation เป็นการยึดกระดูกโดยการผ่าตัดใส่เครื่องยึดที่เป็นโลหะภายหลังการจัดกระดูกเข้าที่หรือที่เรียกว่า open reduction internal fixation (ORIF)-External Fixation เป็นการผ่าตัดแบบเปิดเพื่อยึดตรึงกระดูกที่หักจากภายนอกให้อยู่กับที่หรือที่เรียกว่า Open
reduction
external fixation (OREF)
การพยาบาลผู้ป่วย on external and internal fixation
External fixation DExternal txation
หรือการใส่โลหะยึดตรึงกระดูกรยางค์ภายนอกหมายถึงการตรึงกระดูกที่หักด้วยโลหะซึ่งจะใส่อยู่ภายนอกร่างกายของผู้ป่วย
ข้อบ่งชี้ของการใส่ External fixation
1. กระดูกหักแบบมีแผลเปิดและแผลมีขนาดใหญ่รุนแรง 2. กระดูกหักที่มีการอักเสบและติดเชื้อร่วมด้วย 3. กระดูกหักหลาย ๆ แห่งในชิ้นเดียวกัน 4. กระดูกหักที่มีภยันตรายต่อหลอดเลือดและเส้นประสาทร่วมด้วย 5. กระดูกหักภายในข้อ 6. ต้องการเพิ่มความยาวของรยางค์ (limb lengthening)
ข้อดีของการใส่ External flxation
1. ทำให้มี rigid flxation ในผู้ป่วยกระดูกหักที่ไม่สามารถรักษาได้โดยการใส่เผือกหรือผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงกระดูกภายใน (Internal fixation กรณีนี้มักพบในผู้ป่วย open fracture type II หรือ III 2. Compression and distraction 3. สามารถดูสภาวะของเนื้อเยื่ออ่อนแผลได้สะดวก 4. สามารถขยับข้อบริหารข้อได้ดี 5. สามารถใส่ External fixation โดยใช้ยาชาเฉพาะที่ได้ในกรณีที่ผู้ป่วยอาการหนักมากจนไม่สามารถคมยาสลบได้ 6. ให้ผู้ป่วยลุกเดินได้เร็วขึ้น
ข้อเสียของการใส่ External fixation
ข้อเสียของการใส่ External fixation เกิดการติดเชื้อ (pIn tract Infection) โดยแบ่งระดับการติดเชื้อตามความรุนแรงดังนี้ Grade 1 Serous drainage Grade 2 Superficial cellulitis Grade 3 Deep infection Grade 4 Osteomyelitis 2. ทำให้เกิดข้อติดแข็ง 3. มีโอกาสเกิด neurovascular Impairment 4.Compartment syndrome อาจเกิดได้เนื่องจาก Schanz Screw หรือ pin เข้าไปในช่องกล้ามเนื้อทำให้ความดันในช่องกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้นเกิดภาวะขาดเลือคของกล้ามเนื้อทำให้ระบบไหลเวียนปกติ 5.Pin loosenlng การเลื่อนหลุดของ pin 6.Delayed unlon or nonunlon 7. มีโอกาสเกิดกระดูกหักหลังจาก off External txation 8. เกะกะรุ่มร่ามใส่เสื้อผ้าลำบาก 9. โลหะยึดตรึงภายนอกเป็นครุภัณฑ์ที่สูญหายไม่ได้ราคาแพงทางโรงพยาบาลจึงจำเป็นต้องให้ผู้ป่วยมัดจำค่าโลหะยึดตรึงภายนอก
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
1. การเตรียมทางด้านจิตใจ 2. การเตรียมทางด้านร่างกายการตรวจร่างกายตามระบบการประเมินบาดแผลการ irrigate แผลด้วย NSS อย่างน้อย 2000 CC การ Splint ประเมินการไหลเวียนโลหิตที่ไปเลี้ยงส่วนปลายการประเมินการทำงานของเส้นประสาทส่วนปลาย
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ตรวจสอบระดับความรู้สึกตัวและบันทึกสัญญาณชีพ 2. การจัดท่าแขนขาที่ได้รับการโลหะยึดตรึงกระดูกรยางค์ภายนอก 3. ประเมินการไหลเวียนโลหิตที่ไปเลี้ยงส่วนปลาย 4. การประเมินการทำงานของเส้นประสาทส่วนปลาย 5. ตรวจดูภาวะเลือดออกจากแผล 6. ประเมินระดับความเจ็บปวด 7. กระตุ้นให้ผู้ป่วยออกกำลังส่วนแขนขาออกกำลังข้อทุกๆข้อ (ROM)-การออกกำลังกล้ามเนื้อต้นขา-กระตุ้นให้ผู้ป่วยทำกิจวัตรประจำวัน (Activity Dally of Living: ADL)-การทำแผลทำแผลวันละ 1 ครั้งแนะนำการดูแลแผลให้ไปทำแผลห้ามแผลเปียกน้ำ 2. เสื้อผ้าสวมใส่เสื้อผ้านุ่มที่ไม่ระคายเคืองผิวหนังแขนขากว้าง 3. ระมัดระวังอุบัติเหตุการหกล้ม 4. แนะนำการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันอาชีพ 5. รับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่
Internal fixation
การใส่โลหะยึดตรึงกระดูกรยางค์ภายในร่างกาย (Open Reduction Internal Fixation: ORIF) »หมายถึงการผ่าตัดเพื่อจัดกระดูกที่หักให้เข้าที่โดยใช้วัสดุต่างๆเช่นแผ่นเหล็ก (plate) แท่งเหล็กปลายแหลม (pin) ลวด (wire) สกรู (Screw) หรือแกนคามกระดูก (nal) ยึดตรึงกระดูกที่หักไว้เพื่อช่วยในการสมานกันของกระดูก
ข้อบ่งชี้ของการใส่ INTERNAL FIXATION
1. กระดูกหักเข้าข้อและมีการเคลื่อนของกระดูกในข้อร่วมด้วย 2. กรณีไม่สามารถรักษาควยวิธี closed reduction 3. กระดูกในสูงอายุที่ต้องการให้ทำกิจกรรมต่างๆด้วยตนเองเร็วที่สุด 4. กระดูกหักผ่าน epiphyseal ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตในผู้ป่วยเด็ก 5. กระดูกหักเข้าข้อที่อาจมีผลทำให้ข้อยึดติดหากไม่ได้รับการรักษา 6. กระดูกหักที่มีแรงดึงกล้ามเนื้อดึงให้กระดูกที่หักแยกจากกันตลอดเวลา 7. กระดูกหักบริเวณที่มีพยาธิสภาพอยู่ก่อน (Pathologic fracture) 8. กระดูกหักที่มีการบาดเจ็บของหลอดเลือดและเส้นประสาท 9. มีภาวะกระดูกต่อไม่ติดหลังได้รับการรักษา (Nonunion)
ข้อดีของการใส่ INTERNAL FIXATION
ไปเป็นวิธีการที่สามารถจัดเรียงกระดูกที่หักได้โดยตรง 2. แก้ไขสิ่งที่ขัดขวางการจัดเรียงกระดูกได้ 3. สามารถยึดตรึงกระดูกที่หักได้อย่างมั่นคง 4. ช่วยให้อวัยวะที่ได้รับการผ่าตัดยึดตรึงกระดูกและข้อต่อใกล้เคียงการเคลื่อนไหว 5. ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนเช่นกล้ามเนื้อลีบข้อยึดติดแผลกดทับเป็นต้น
ข้อเสียของการใส่ INTERNAL FIXATION
1. มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึกขณะผ่าตัด 2. มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดเช่นการสูญเสียเลือดการบาดเจ็บของหลอดเลือดและเส้นประสาทเป็นต้น 3. มีโอกาสเกิดการติดเชื้อ 4. เสียค่าใช้จ่ายสูง 5. ผู้ป่วยต้องมารับการผ่าต้อซ้ำเมื่อกระดูกติดเพื่อเอาวัสดุที่คามกระดูกออก
การพยาบาลผู้ป่วยใส่ INTERNAL FIXATION-
การพยาบาลในระยะแรกของการผ่าตัดเหมือนการพยาบาลหลังผ่าตัดทั่วไป ได้แก่ การติดตามสัญญาณชีพอย่างต่อเนื่องการประเมินการสูญเสียเลือดจากการผ่าตัด-การลดปวดบริเวณแผลผ่าตัด pain control ประเมินระดับความเจ็บปวดโดยการใช้ Numeric rating Scale-การประเมินการทำงานของระบบประสาทและการไหลเวียนโลหิต
การพยาบาลผู้ป่วยใส่ INTERNAL FIXATION
การพยาบาลในระยะหลังของการผ่าตัด ได้แก่ ป้องกันแผลผ่าตัดติดเชื้อ-มุ่งเน้นฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโดยบริหารกล้ามเนื้อ-ฝึกใช้อุปกรณ์ช่วยเดินการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนเช่นแผลกดทับท้องผูกเป็นต้น
หลักการพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัดคามกระดูก 1.
bleeding 2. pain 3. Infection 4. blood circulation 5. Complication-pressure sore-compartment syndrome 7. Exercise and Rehabilitation 8. self care deficit
การรักษากระดูกหักด้วยวิธีใส่เฝือก
ชนิดของการเข้าเฝือก
ใส่เผือกแขน (Short arm cast) ตำแหน่งใส่ตั้งแต่เงามือถึงไม่ขอออก 228 ข้อมือหัก 2. เฝือกแขน (Long arm cast) ตำแหน่งใส่ตั้งแต่ฝ่ามือถึงต้นแขน 3. เมือกแขน (Arm cylinder cast) ตำแหน่งใส่ตั้งแต่ข้อมือถึงต้นแขน 4. เมือก (Short leg cast) ตำแหน่งใส่ตั้งแต่ปลายนิ้วเท้าถึงใต้เข่า 5. เผือกขา (Leg cylinder cast) ตำแหน่งใส่ตั้งแต่ข้อเท้าถึงต้นขา 66. ฝือกขา (long leg cast ตำแหน่งใส่ตั้งแต่ปลายเท้าถึงต้นขา 7. เสื้อกลำตัวและขา (Unllateral hip splca cast) ตำแหน่งใส่ตั้งแต่ทรวงอกลงมาตลอคขาอีกหนึ่งข้างเว้นต่ำแหน่งของขาหนีบ 8. สื่อกลำตัวและขา (One and one half hip splca cast) ตำแหน่งใส่ตั้งแต่ทรวงอกลงมาตลอคขาอีกหนึ่งข้างขาอีกข้างหนึ่งลงมาถึงเข่าโคยเว้นตำแหน่งของขาหนีบไว้และมี bar ยึดระหว่างขา 2 ข้าง» 9. เสื้อกลำตัวและขา (Bilateral hlp splca cast) ตำแหน่งใส่ตั้งแต่ทรวงอกลงมาตลอคขาทั้ง 2 ข้างโดยเว้นตำแหน่งของขาหนีบไว้และมี bar ยึดระหว่างขา 2 ข้าง-10. เสือกลำตัว (Body cast) ตำแหน่งด้านหน้าเริ่มตั้งแต่ sternal notch ถึง symphysis pubis ด้านหลังตั้งแต่มุมล่างของสะบักถึงระดับ coccyx ด้านข้างต่ำ nan iliac crest 11. เสือกลำตัวและขา: (Short leg hip splca cast) ตำแหน่งใส่ตั้งแต่ทรวงอกลงมาถึงหัวเข่าของขาทั้ง 22 ข้างโดยเว้นตำแหน่งของขาหนีบไว้
ข้อดีของการใส่เฝือก
-คามกระดูกและข้อให้อยู่กับที่> ลดความเจ็บปวด> ลค muscular spasm-คามกระดูกที่จัดเข้าที่แล้วไม่ให้กระดูกเคลื่อนออกจากที่-แก้รูปพิการหรือการหดค้างของข้อต่างๆเช่น flexlon contracture,, equlnes etc.
ชนิดของเผือกขายาท Monu
1. เผือกปูนซึ่งเป็นการนำปูนพลาสเตอร์มาเคลือบบนผ้าฝ้ายข้อดีราคาถูกการใส่เฝือกและการตัดเฝือกคัดเฝือกทำได้ง่ายข้อเสียมีน้ำหนักค่อนข้างมากแตกร้าวง่ายระบายอากาศไม่ค่อยดีอาจทำให้คันเพราะความอับชื้นถ้าถูกน้ำเสือกก็จะเละเสียความแข็งแรง 2. เผือกพลาสติกเป็นพลาสติกสังเคราะห์ข้อดีน้ำหนักเบาระบายอากาศได้ดีมีความแข็งแรงสูงและเวลาถ่ายภาพรังสีจะเห็นกระดูกได้ชัดเจนกว่าข้อเสียราคาแพงการตัดเฝือกคัดเฝือกทำได้ยากทำให้ต้องตัดออกและใส่เผือกใหม่อีกครั้ง
การดูแลเผือกในระยะ 3 วันแรกหลังใส่เฝือก
ป้องกันเฝือกแตกหักหรือบุบในระหว่างที่เปียกชื้นให้วางเผือกบนวัสดุนิ่มเช่นหมอนหลีกเลี่ยงการวางเผือกบนวัสดุแข็งเช่นพื้นปูนประคองเผือกในระหว่างที่เคลื่อนย้ายหรือลุกจากเตียงอย่างระมัดระวังหลีกเลี่ยงการกดหรือบีบเยือกเล่นวางเผือกในที่โล่งอากาศถ่ายเทได้สะควกไม่ใช้ผ้าห่มคลุมบนเฝือกการใช้พัดลมเป่าจะช่วยให้เผือกแห้งเร็วขึ้นห้ามนำเผือกไปผิงไฟหรือเปียกน้ำ
การปฏิบัติตัวเมื่อเฝือกแห้งดีแล้ว
1. ดูแลไม่ให้เผือกเปียกน้ำหรือสกปรกห้ามตัดเฝือกสำลีหรือวัสดุรองรับเผือกออกเอง 2. ไม่ควรให้เผือกเป็นตัวรับน้ำหนักเต็มที่ลงน้ำหนักได้เมื่อแพทย์อนุญาต 3 เกร็งกล้ามเนื้อที่อยู่ใต้เผือกบ่อยๆและเคลื่อนไหวส่วนที่อยู่ภายนอกเผือกหรือข้อต่างๆที่อยู่ใกล้เคียงเช่นใส่เฝือกขาควรกระดิกนิ้วเท้าขึ้น-ลงเกร็งกล้ามเนื้อน่องและออกกำลังกายยกขาขึ้น-ลงบ่อยๆเข้าเฝือกแขนให้เคลื่อนไหวหัวไหล่กำ-แบมือบ่อยๆ 4. ห้ามใช้วัสดุของแข็งแหย่เข้าไปในเมือกเพราะอาจทำให้ผิวหนังถลอกมีแผลซึ่งอาจเกิดการติดเชื้อตามมาถ้ามีอาการคันให้ใช้แอลกอฮอล์หยดในเผือกแล้วใช้พัดลมเป่าหรืออาจจะใช้ Spray แก้คันฉีดในเผือก» 5. ยกส่วนแขนหรือขาที่เข้าเฝือกให้สูงอยู่เหนือระดับหัวใจเสมอเพื่อช่วยให้เกิดการไหลเวียนโลหิตที่ดีและลดอาการบวมเวลานั่งหรือนอนให้ใช้หมอนหนุนแขนหรือขาที่เข้าเฝือก
เวลาเดินหรือยืนให้ใช้ผ้าคล้องคอสำหรับผู้ที่ใส่เฝือกที่แขนคัน
มาพบแพทย์ตามนัด-ถ้ามีอาการผิดปกติดังนี้ให้มาก่อนนัดปวดบริเวณที่ใส่เฝือกมากขึ้นนิ้วมือหรือเท้าข้างที่เข้าเฝือกมีสีเขียวคล้ำหรือซีดบวมมากขึ้นหรือชาไม่สามารถขยับนิ้วมือหรือนิ้วเท้าข้างที่ใส่เผือกมีเลือคน้ำเหลืองหรือหนองไหลออกมาจากเผือกหรือมีกลิ่นเหม็นเผือกหลวมแตกร้าวหรือหลุด
ภาวะแทรกซ้อนของการใส่เฝือก
แผลกดทับ 2. ปัญหากระดกข้อเท้าหรือเหยียดข้อเท้าไม่ได้หรือเท้าตก (Foot drop) 3. อาการบวม 4. คลื่นไส้อาเจียนท้องอีกและบางครั้งมีอาการปวดท้อง 5. ปอดบวม (Pneumonla) 6. การติดเชื้อ (Infection)) 7. กล้ามเนื้อลีบและข้อติด 8.Compartment Syndrome
COMPARTMENT SYNDROME Compartment Syndrome คือภาวะที่“ ความดันในช่องปิคของกล้ามเนื้อสูงขึ้น”
หลังได้รับบาดเจ็บอาจมีกระดูกหักหรือมีเลือดออกหรือมีเพียงอาการการบวมของกล้ามเนื้อซึ่งไปรบกวนระบบการไหลเวียนของเลือดทำให้กล้ามเนื้อเยื่ออ่อนอื่น ๆ ในบริเวณนั้นมีเลือดไปเลี้ยงไม่พอ (Poor tissue Perfusion) เกิดการขาคเลือดที่รุนแรงจนทำให้เนื้อเยื่อในช่องกล้ามเนื้อนั้นตาย
การประเมินภาวะ Compartment Syndrome
1.Pain ปวด 2.Polar เย็น 3. Pallor in 5.Paresthesla 112 6.Paralysls อัมพาต 7.-Pulselessness ชีพจร[
รักษาโดยการทำ Fasciotomy
คือการผ่าตัดแก้ไขภาวะ Compartment syndrome ซึ่งเป็นการท าผ่าตัดกรีดเนื้อเยื่อส่วนที่เป็น fascia ซึ่งคลุมรอบกล้ามเนื้อ compartment ของกล้ามเนื้อ เป็น แนวตามยาว เพื่อท าให้แรงดันใน compartment ของกล้ามเนื้อนั้นลดลง
ภาวะดังกล่าวเป็นภาวะฉุกเฉินซึ่งต้องได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที โดยแนะนำให้ให้การรักษาภายใน 6 ชั่วโมง เนื่องจากกล้ามเนื้อและเส้นประสาทบางส่วนจะเริ่มสูญเสียการทำงานไปและไม่สามารถกลับมาทำงานได้อย่างปกติ (irreversible process) หลังจากเกิดภาวะดังกล่าวเป็นระยะเวลานานเกินกว่า 8 ชั่วโมงการรักษาภาวะนี้ในระยะแรกสามารถทำได้โดยการเอาวัสดุที่กดรัดรยางค์ออก หากผู้ป่วยใส่เฝือกอาจทำการบากเฝือกและเอาสำลีรองเฝือกบางส่วนออกเพื่อให้ช่องกล้ามเนื้อสามารถขยายออกได้ จากนั้นให้ผู้ป่วยยกแขนสูง 10 เซนติเมตรเหนือระดับหัวใจเพื่อเพิ่มการไหลเวียนกลับของเลือด
หากยังไม่ดีขึ้นอาจทำการผ่าตัดเปิดเยื่อหุ้มกล้ามเนื้อ (fasciotomy)